หนองผือคำ ดินน้ำใส ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ชาวบ้านสามัคคี มากมีวัฒนธรรม นำไปสู่แหล่งท่องเที่ยว
ทางราชการได้ตั้งเป็นหมู่บ้านหนองผือเพราะมีน้องน้ำขนาด 4 ตารางกิโลเมตรอยู่ด้านใต้ของหมู่บ้านมีน้ำขัง ตลอดปีมีต้นปรือ (ต้นผือ) เกิดงอกงามในหนองน้ำดังกล่าวนี้จำนวนมาก
หนองผือคำ ดินน้ำใส ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ชาวบ้านสามัคคี มากมีวัฒนธรรม นำไปสู่แหล่งท่องเที่ยว
บ้านหนองผือเป็นหมู่บ้านสำคัญของตำบลบ้านกง อำเภอหนองเรือ หมู่บ้านมีประมาณ 200 หลังคา เรือน ตั้งอยู่ระหว่างแนวยาวของภูเขาพานคำ (ตะวันออกหมู่บ้าน) และแนวยาวของชายน้ำเขื่อนอุบลรัตน์ ซึ่ง ทั้งภูเขาและน้ำเขื่อนนี้ทอดขนานกันมาจากตัวเขื่อนอุบลรัตน์ทางด้านทิศเหนือ ห่างออกไปประมาณ 20 กิโลเมตรจึงจะถึงตัวเขื่อน บ้านหนองผือแบ่งออกเป็น 2 หมู่บ้าน คือหมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 มีวัดอยู่ตรงกลางระหว่างหมู่บ้านทั้ง 2 นั้น ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำนา ทำไร่ ประมง เลี้ยงสัตว์ เป็นส่วนใหญ่นิสัยใจคอของชาวบ้านหนองผือ เป็นคนขยันหมั่นเพียรตั้งใจทำมาหากินยึดมั่นในหลักธรรมประเพณีทางพระพุทธศาสนา มีปัญหาหรือกิจการ ส่วนรวมก็ร่วมกันทั้ง 2 หมู่บ้าน และร่วมกันทำตามมติข้อตกลงอย่างกลมเกลียวกันไม่ถึงฝักฝ่าย คุณธรรมอันนี้ เองทำให้ชาวบ้านหนองผือสร้างอุโบสถสำเร็จในเวลาอันสั้นได้ พื้นเพเดิมของบ้านหนองผือเท่าที่ได้สอบถามตามความเป็นมาพอทราบว่า เมื่อประมาณ 90 ปีที่ผ่าน มาบริเวณบ้านหนองผือปัจจุบันยังเป็นป่าดงพงทึบ เป็นที่อาศัยของสิงสาราสัตว์นานาชนิด เช่น ช้าง เสือ หมูป่า กวาง เก้งเป็นต้น เพราะบริเวณดังกล่าวตั้งอยู่ระหว่างเขาภูพานคำกับแม่น้ำเชิญ เมื่อพวกนายพรานและนัก แสวงโชคมาพบเขาก็ได้ชักชวนกันมาตั้งถิ่นฐาน ส่วนมากย้ายมาจากท้องที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม และเขตอำเภอเมืองขอนแก่น ในปัจจุบันนี้ผู้อพยพมาอยู่รุ่นแรกได้เผชิญกับไข้ป่า สัตว์ร้าย และ ดินฟ้าอากาศในถิ่นใหม่ เป็นต้น ปู่ย่าตายายเหล่ากันต่อๆมาว่า การมาตั้งหมู่บ้านหนองผือในยุคแรกเคยพากัน แตกหนีถึง 3 ครั้ง เพราะภัยธรรมชาติดังกล่าว นับแต่ปีพ.ศ. 25451 เป็นต้นมา ได้มีนายห้างเขาพาน นายโสม เครือมา นายกุลา พาลี มาจากบ้านตูม โนนทัน จังหวัดกาฬสินธุ์พาลูกหลานมาตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่ เป็นครั้งที่ 4 ตอนแรกมีประมาณ 10 หลังคาเรือน ต่อมาก็ได้มีประชาชนจากบ้านพระลับ บ้านทุ่ม บ้านสาวะถีย์ขอนแก่นและจากที่อื่นอพยพเพิ่มขึ้นเรื่อยเรื่อย ทางราชการได้ตั้งเป็นหมู่บ้านหนองผือเพราะมีน้องน้ าขนาด 4 ตารางกิโลเมตรอยู่ด้านใต้ของหมู่บ้านมีน้ำขัง ตลอดปีมีต้นปรือ (ต้นผือ) เกิดงอกงามในหนองน้ำดังกล่าวนี้จำนวนมาก ตอนแรกนี้มีนายเทพยกบัตร โสรัตน์ เป็นผู้ใหญ่บ้านขึ้นต่อตำบลจระเข้ มีนายจิต ธรรมมา กำนันคนที่ 1 หมื่นนิกรเป็นกำนันคนต่อมา ขึ้นต่ออำเภอ พระลับ (อำเภอเมืองขอนแก่น-ปัจจุบัน) จังหวัดขอนแก่น ต่อมาทางราชการได้แบ่งเขตปกครองใหม่ จึงได้ย้าย บ้านหนองผือมาขึ้นต่อตำบลสาวะถีย์ อำเภอพระลับเช่นเดิม และเมื่อตั้งอำเภอหนองเรือขึ้นทางการก็ได้โอน บ้านหนองผือมาสังกัดตำบลบ้านกงอำเภอหนองเรืออีกครั้งหนึ่งประมาณ 10 ปีมานี้ต่อไปอาจโอนไปสังกัด ตำบลอำเภอใดอีกในอนาคตก็ไม่แน่นอน การตั้งถิ่นฐาน บ้านหนองผือหมู่ 7 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น เดิมชื่อบ้านหนองผือหมู่ที่ 13 ตำบลบ้านกง อำเภอหนองเรือจังหวัดขอนแก่นแยกจากหมู่ 6 พ.ศ. 2487 ปัจจุบันคือบ้านหนองผือหมู่เจ็ดตำบล บ้านผืออำเภอหนองเรือจังหวัดขอนแก่นแยกจากตำบลบ้านกงเมื่อปีพ.ศ. 2522 ความเป็นมาของบ้านหนองผือ เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2430 นายหนูเทพเหตุที่ตั้งชื่อว่าบ้านน้องผือมีความเป็นมาว่ามีหนองน้ำมีต้นกก (ต้นผือ) เป็นแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์จึงเรียกว่าบ้านหนองผือมาจนถึงปัจจุบัน 13 ตั้งแต่อดีตปัจจุบันผู้ใหญ่ 7 คน
1. นายเวิน แก้วหาวงษ์ พ.ศ. 2485-2496
2. นายหัด เหล่ามูล พ.ศ. 2496-2499
3. นายพร วงษ์คง พ.ศ. 2499-2507
4. นายสมหมาย โพธิปัสสา พ.ศ. 2507-2539
5. นายสังข์ทอง เครือมา พ.ศ. 2539-2552
6. นายหวิน อ่อนประทุม พ.ศ. 2552-2560
7. นายวรดร เครือมา พ.ศ. 2560- ปัจจุบัน
ที่ตั้งของชุมชุนและอาณาเขต บ้านหนองผือ หมู่7 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น อาณาเขต : ทิศเหนือติดต่อกับบ้านดอนกอก หมู่8 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ทิศใต้ติดต่อกับบ้านหนองแสง หมู่2 และหมู่3 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัด ขอนแก่น ทิศตะวันออกติดต่อกับบ้านผือพัฒนา หมู่9 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันตกติดต่อกับบ้านหนองผือ หมู่6 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ลักษณะทางธรณีวิทยาลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิอากาศ - ลักษณะภูมิประเทศ : เป็นพื้นที่ลุ่มๆ ดอนๆ มีภูเขา มีหนองน้ าในหมู่บ้าน คือ บึงหนองผือ และติดกับหางเขื่อน อุบลรัตน์ - ภูมิอากาศ : มี 3 ฤดู ได้แก่ 1.ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนพฤษภาคม 2.ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม 3.ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนตุลาคม – เดือนกุมภาพันธ์ - ลักษณะดิน : มี 2 ประเภท คือ 1.ดินร่วนปนทราย เป็นดินที่ใช้ท านา ท าไร่และปลูกพืชผัก ผลไม้ 2.ดินเหนียวหรือดินทาม เป็นดินที่ใช้ทำนา ริมน้ำเชิน และเขื่อนอุบลรัตน สภาพการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและในชุมชน การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน -ขยะอินทรีย์เป็นสิ่งที่ย่อยสลายได้ง่าย ได้แก่ เศษอาหาร ผัก ผลไม้ หญ้า ใบไม้ กิ่ง ไม้ ซากพืช ซากสัตว์แนวทางการจัดการโดยส่วนใหญ่มักนำไปหมักทำปุ๋ย การนำไปเป็น อาหารสัตว์ เป็นต้น -ขยะรีไซเคิล เป็นสิ่งที่ยังมีประโยชน์สามารถน าไปแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ กล่องเครื่องดื่มแบบ UHT กระป๋อง และแผ่นซีดีแนวทางการ จัดการโดยส่วนใหญ่มักน ากลับมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดพลาสติก และเก็บไว้ขายแก่ร้านรับซื้อของ เก่า หรือนำไปขายเองที่ร้านรบซื้อของเก่า -ขยะอันตราย คือ วัตถุมีพิษ วัตถุกัดกร่อน วัตถุติดเชื้อและวัตถุไวไฟ ได้แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ขวดน้ำยาล้างห้องน้ำและกระป๋องสเปรย์ มี แนวทางการจัดการ คือ -ขยะทั่วไป สิ่งอื่นๆนอกเหนือจากข้างต้น อาจนำมาใช้ใหม่ได้ แต่ย่อยสลายยาก ไม่ คุ้มค่าในการแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ เศษผ้า เศษหนัง ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป พลาสติก ห่อขนมมีแนวทางการจัดการ คือ เก็บรวบรวมและนำไปทิ้งหลุมขยะท้ายหมู่บ้าน ส้วมและสิ่งปฏิกูล แนวทางจัดการโดยใช้ระบบที่ใช้น้ำในการขับเคลื่อนสิ่งปฏิกูลลงสู่ที่กักเก็บ และสิ่งปฏิกูลถูก บ าบัดภายในถังกักเก็บ อาจมีการแบ่งชนิด ของส้วมตามลักษณะที่ใช้น้ าและลักษณะของหลุมที่เก็บกัก สิ่งปฏิกูลได้หลายอย่าง แต่ที่ในชุมชนนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือ ส้วมราดน้ า (Pour-flush Toilet) เป็นส้วมที่ให้มีน้ าขังอยู่ใต้พื้นส้วมซึ่งมีการออกแบบที่รองรับให้น้ าขังอยู่ ถังเกรอะ หรือ บ่อเกรอะ (Septic Tanks) เป็นส้วมระบบที่ใช้น้ าและให้มีน้ าขังอยู่ที่โถส้วมแบบราดน้ าหรือแบบชักโครกผลักดัน น้ าไหลไปยังที่เก็บกักสิ่งปฏิกูล เพื่อการบ าบัดและก าจัดสิ่งปฏิกูลในถังเกรอะซึ่งสร้างไว้ห่างจากพื้น ส้วมโดยมีท่อน าสิ่งปฏิกูลลงสู่ถัง การจัดสภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ลักษณะบ้านเป็นบ้าน 2 ชั้น และมีใต้ถุนบ้าน ภายในบ้านมีการจัดวางสิ่งของไม่เป็น ระเบียบ การระบายอากาศไม่ดี บ้านชั้นเดียวภายในบ้านมีแสงสว่างไม่เพียงพอ การท าความ สะอาดภายในบ้านหน้าที่หลัก คือ แม่บ้านและบุตรสาว หรือหลานสาว การจัดสภาพแวดล้อมภายนอกบ้าน มีต้นไม้ร่มรื่น มีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ประดับรอบบ้าน ขยะมีจัดเก็บเป็นระเบียบ แต่บ้านที่ติดถนนนั้น จะมีมูลสัตว์ที่หน้าจ านวน มาก และมีการท าที่กั้นเพื่อไม่ให้วัว ควาย เดินล้ าเข้ามาในบ้าน การจัดสภาพแวดล้อมในชุมชน ถนนในชุมชนมีมูลสัตว์จ านวนมาก และมีฝุ่น จ านวนเยอะ และไม่ค่อยท าความสะอาด ท าให้ดูสกปรก และมีรถสัญจรไปมา ท าให้มีฝุ่นคุ้ง และในชุมชนไม่มีคลองระบายน้ า ท าให้มีน้ าขัง มีการสัตว์ คือ เลี้ยง วัว ควาย จ านวน 296 ตัว 48 ครัวเรือน แบ่งเลี้ยงที่บ้าน 14 ครัวเรือน เลี้ยงที่นา 33 ครัวเรือน และเลี้ยงที่ลาน 1 ครัวเรือน จากจ านวนสัตว์เลี้ยงจ านวนมากนี้ ท าให้หมู่บ้านหนองผือ มีความสกปรก และมี กลิ่นไม่พึงประสงค์ สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ การจัดการอาหาร การปรุงอาหาร และการถนอมอาหาร เพื่อการบริโภคนั้นจะปรุง อาหารที่สุกใหม่ สะอาด เพื่อลดปัญหาโรคที่เกิดจากอาหารและน้ าเป็นสื่อ แต่มีประชาชน จ านวน194 คน จากประชากรทั้งหมด 434 คน คิดเป็นร้อยละ 59.9 ที่รับประทานอาหาร สุกๆดิบๆ เนื่องจากชุมชนบ้านหนองผือ มีแหล่งน้ าที่ใช้ในการหาอาหาร เช่น ปลา ประชาชน จึงมีการบริโภค ปลาดิบ ส้มปลา กุ้งดิบ และลาบก้อย เป็นต้น
ที่ตั้งของชุมชุนและอาณาเขต บ้านหนองผือ หมู่7 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
อาณาเขต : ทิศเหนือติดต่อกับบ้านดอนกอก หมู่8 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
ทิศใต้ติดต่อกับบ้านหนองแสง หมู่2 และหมู่3 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัด ขอนแก่น
ทิศตะวันออกติดต่อกับบ้านผือพัฒนา หมู่9 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
ทิศตะวันตกติดต่อกับบ้านหนองผือ หมู่6 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
ลักษณะทางธรณีวิทยาลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิอากาศ - ลักษณะภูมิประเทศ : เป็นพื้นที่ลุ่มๆ ดอนๆ มีภูเขา มีหนองน้ าในหมู่บ้าน คือ บึงหนองผือ และติดกับหางเขื่อน อุบลรัตน์ - ภูมิอากาศ : มี 3 ฤดู ได้แก่
1.ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนพฤษภาคม
2.ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม
3.ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนตุลาคม – เดือนกุมภาพันธ์ -
ลักษณะดิน : มี 2 ประเภท คือ 1.ดินร่วนปนทราย เป็นดินที่ใช้ท านา ท าไร่และปลูกพืชผัก ผลไม้ 2.ดินเหนียวหรือดินทาม เป็นดินที่ใช้ทำนา ริมน้ำเชิน และเขื่อนอุบลรัตน
สภาพการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและในชุมชน
การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน -ขยะอินทรีย์เป็นสิ่งที่ย่อยสลายได้ง่าย ได้แก่ เศษอาหาร ผัก ผลไม้ หญ้า ใบไม้ กิ่ง ไม้ ซากพืช ซากสัตว์แนวทางการจัดการโดยส่วนใหญ่มักนำไปหมักทำปุ๋ย การนำไปเป็น อาหารสัตว์ เป็นต้น -ขยะรีไซเคิล เป็นสิ่งที่ยังมีประโยชน์สามารถน าไปแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ กล่องเครื่องดื่มแบบ UHT กระป๋อง และแผ่นซีดีแนวทางการ จัดการโดยส่วนใหญ่มักน ากลับมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดพลาสติก และเก็บไว้ขายแก่ร้านรับซื้อของ เก่า หรือนำไปขายเองที่ร้านรบซื้อของเก่า -ขยะอันตราย คือ วัตถุมีพิษ วัตถุกัดกร่อน วัตถุติดเชื้อและวัตถุไวไฟ ได้แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ขวดน้ำยาล้างห้องน้ำและกระป๋องสเปรย์ มี แนวทางการจัดการ คือ -ขยะทั่วไป สิ่งอื่นๆนอกเหนือจากข้างต้น อาจนำมาใช้ใหม่ได้ แต่ย่อยสลายยาก ไม่ คุ้มค่าในการแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ เศษผ้า เศษหนัง ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป พลาสติก ห่อขนมมีแนวทางการจัดการ คือ เก็บรวบรวมและนำไปทิ้งหลุมขยะท้ายหมู่บ้าน
ส้วมและสิ่งปฏิกูล แนวทางจัดการโดยใช้ระบบที่ใช้น้ำในการขับเคลื่อนสิ่งปฏิกูลลงสู่ที่กักเก็บ และสิ่งปฏิกูลถูก บ าบัดภายในถังกักเก็บ อาจมีการแบ่งชนิด ของส้วมตามลักษณะที่ใช้น้ าและลักษณะของหลุมที่เก็บกัก สิ่งปฏิกูลได้หลายอย่าง แต่ที่ในชุมชนนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือ ส้วมราดน้ า (Pour-flush Toilet) เป็นส้วมที่ให้มีน้ าขังอยู่ใต้พื้นส้วมซึ่งมีการออกแบบที่รองรับให้น้ าขังอยู่ ถังเกรอะ หรือ บ่อเกรอะ (Septic Tanks) เป็นส้วมระบบที่ใช้น้ าและให้มีน้ าขังอยู่ที่โถส้วมแบบราดน้ าหรือแบบชักโครกผลักดัน น้ าไหลไปยังที่เก็บกักสิ่งปฏิกูล เพื่อการบ าบัดและก าจัดสิ่งปฏิกูลในถังเกรอะซึ่งสร้างไว้ห่างจากพื้น ส้วมโดยมีท่อน าสิ่งปฏิกูลลงสู่ถัง การจัดสภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ลักษณะบ้านเป็นบ้าน 2 ชั้น และมีใต้ถุนบ้าน ภายในบ้านมีการจัดวางสิ่งของไม่เป็น ระเบียบ การระบายอากาศไม่ดี บ้านชั้นเดียวภายในบ้านมีแสงสว่างไม่เพียงพอ การท าความ สะอาดภายในบ้านหน้าที่หลัก คือ แม่บ้านและบุตรสาว หรือหลานสาว การจัดสภาพแวดล้อมภายนอกบ้าน มีต้นไม้ร่มรื่น มีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ประดับรอบบ้าน ขยะมีจัดเก็บเป็นระเบียบ แต่บ้านที่ติดถนนนั้น จะมีมูลสัตว์ที่หน้าจ านวน มาก และมีการท าที่กั้นเพื่อไม่ให้วัว ควาย เดินล้ าเข้ามาในบ้าน การจัดสภาพแวดล้อมในชุมชน ถนนในชุมชนมีมูลสัตว์จ านวนมาก และมีฝุ่น จ านวนเยอะ และไม่ค่อยท าความสะอาด ท าให้ดูสกปรก และมีรถสัญจรไปมา ท าให้มีฝุ่นคุ้ง และในชุมชนไม่มีคลองระบายน้ า ท าให้มีน้ าขัง มีการสัตว์ คือ เลี้ยง วัว ควาย จ านวน 296 ตัว 48 ครัวเรือน แบ่งเลี้ยงที่บ้าน 14 ครัวเรือน เลี้ยงที่นา 33 ครัวเรือน และเลี้ยงที่ลาน 1 ครัวเรือน จากจ านวนสัตว์เลี้ยงจ านวนมากนี้ ท าให้หมู่บ้านหนองผือ มีความสกปรก และมี กลิ่นไม่พึงประสงค์ สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ การจัดการอาหาร การปรุงอาหาร และการถนอมอาหาร เพื่อการบริโภคนั้นจะปรุง อาหารที่สุกใหม่ สะอาด เพื่อลดปัญหาโรคที่เกิดจากอาหารและน้ าเป็นสื่อ แต่มีประชาชน จ านวน194 คน จากประชากรทั้งหมด 434 คน คิดเป็นร้อยละ 59.9 ที่รับประทานอาหาร สุกๆดิบๆ เนื่องจากชุมชนบ้านหนองผือ มีแหล่งน้ าที่ใช้ในการหาอาหาร เช่น ปลา ประชาชน จึงมีการบริโภค ปลาดิบ ส้มปลา กุ้งดิบ และลาบก้อย เป็นต้น
การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน -ขยะอินทรีย์เป็นสิ่งที่ย่อยสลายได้ง่าย ได้แก่ เศษอาหาร ผัก ผลไม้ หญ้า ใบไม้ กิ่ง ไม้ ซากพืช ซากสัตว์แนวทางการจัดการโดยส่วนใหญ่มักนำไปหมักทำปุ๋ย การนำไปเป็น อาหารสัตว์ เป็นต้น -ขยะรีไซเคิล เป็นสิ่งที่ยังมีประโยชน์สามารถน าไปแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ กล่องเครื่องดื่มแบบ UHT กระป๋อง และแผ่นซีดีแนวทางการ จัดการโดยส่วนใหญ่มักน ากลับมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดพลาสติก และเก็บไว้ขายแก่ร้านรับซื้อของ เก่า หรือนำไปขายเองที่ร้านรบซื้อของเก่า -ขยะอันตราย คือ วัตถุมีพิษ วัตถุกัดกร่อน วัตถุติดเชื้อและวัตถุไวไฟ ได้แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ขวดน้ำยาล้างห้องน้ำและกระป๋องสเปรย์ มี แนวทางการจัดการ คือ -ขยะทั่วไป สิ่งอื่นๆนอกเหนือจากข้างต้น อาจนำมาใช้ใหม่ได้ แต่ย่อยสลายยาก ไม่ คุ้มค่าในการแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ เศษผ้า เศษหนัง ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป พลาสติก ห่อขนมมีแนวทางการจัดการ คือ เก็บรวบรวมและนำไปทิ้งหลุมขยะท้ายหมู่บ้าน
ส้วมและสิ่งปฏิกูล แนวทางจัดการโดยใช้ระบบที่ใช้น้ำในการขับเคลื่อนสิ่งปฏิกูลลงสู่ที่กักเก็บ และสิ่งปฏิกูลถูก บำบัดภายในถังกักเก็บ อาจมีการแบ่งชนิด ของส้วมตามลักษณะที่ใช้น้ าและลักษณะของหลุมที่เก็บกัก สิ่งปฏิกูลได้หลายอย่าง แต่ที่ในชุมชนนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือ ส้วมราดน้ำ (Pour-flush Toilet) เป็นส้วมที่ให้มีน้ำขังอยู่ใต้พื้นส้วมซึ่งมีการออกแบบที่รองรับให้น้ำขังอยู่ ถังเกรอะ หรือ บ่อเกรอะ (Septic Tanks) เป็นส้วมระบบที่ใช้น้ำและให้มีน้ำขังอยู่ที่โถส้วมแบบราดน้ำหรือแบบชักโครกผลักดัน น้ำไหลไปยังที่เก็บกักสิ่งปฏิกูล เพื่อการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลในถังเกรอะซึ่งสร้างไว้ห่างจากพื้น ส้วมโดยมีท่อนำสิ่งปฏิกูลลงสู่ถัง การจัดสภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ลักษณะบ้านเป็นบ้าน 2 ชั้น และมีใต้ถุนบ้าน ภายในบ้านมีการจัดวางสิ่งของไม่เป็น ระเบียบ การระบายอากาศไม่ดี บ้านชั้นเดียวภายในบ้านมีแสงสว่างไม่เพียงพอ การทำความ สะอาดภายในบ้านหน้าที่หลัก คือ แม่บ้านและบุตรสาว หรือหลานสาว การจัดสภาพแวดล้อมภายนอกบ้าน มีต้นไม้ร่มรื่น มีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ประดับรอบบ้าน ขยะมีจัดเก็บเป็นระเบียบ แต่บ้านที่ติดถนนนั้น จะมีมูลสัตว์ที่หน้าจำนวน มาก และมีการทำที่กั้นเพื่อไม่ให้วัว ควาย เดินล้ำเข้ามาในบ้าน การจัดสภาพแวดล้อมในชุมชน ถนนในชุมชนมีมูลสัตว์จ านวนมาก และมีฝุ่น จำนวนเยอะ และไม่ค่อยท าความสะอาด ทำให้ดูสกปรก และมีรถสัญจรไปมา ทำให้มีฝุ่นคุ้ง และในชุมชนไม่มีคลองระบายน้ำ ทำให้มีน้ำขัง มีการสัตว์ คือ เลี้ยง วัว ควาย จำนวน 296 ตัว 48 ครัวเรือน แบ่งเลี้ยงที่บ้าน 14 ครัวเรือน เลี้ยงที่นา 33 ครัวเรือน และเลี้ยงที่ลาน 1 ครัวเรือน จากจ านวนสัตว์เลี้ยงจ านวนมากนี้ ทำให้หมู่บ้านหนองผือ มีความสกปรก และมี กลิ่นไม่พึงประสงค์ สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ การจัดการอาหาร การปรุงอาหาร และการถนอมอาหาร เพื่อการบริโภคนั้นจะปรุง อาหารที่สุกใหม่ สะอาด เพื่อลดปัญหาโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ แต่มีประชาชน จำนวน194 คน จากประชากรทั้งหมด 434 คน คิดเป็นร้อยละ 59.9 ที่รับประทานอาหาร สุกๆดิบๆ เนื่องจากชุมชนบ้านหนองผือ มีแหล่งน้ำที่ใช้ในการหาอาหาร เช่น ปลา ประชาชน จึงมีการบริโภค ปลาดิบ ส้มปลา กุ้งดิบ และลาบก้อย เป็นต้น
สาธารณูปโภคในชุมชน
.1.การโทรคมนาคม มีการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการติดต่อสื่อสาร
.2.การไฟฟ้า การบริการไฟฟ้า ครอบคลุมในพื้นที่ชุมชน โดยองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านผือ อยู่ ในเขตบริการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดขอนแก่น ซึ่งผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน้ าของเขื่อน อุบลรัตน์ และพลังงานความร้อนในเขตอำเภอน้ำพอง
3 น้้าประปา - น้ำดื่ม ส่วนมากประชาชนจะซื้อน้ำถังจากโรงผลิตน้ำดื่ม มีบางบ้านที่มีการกรองน้ำฝนไว้ สำหรับบริโภค - น้ำใช้ ใช้น้ำประปา ซึ่งมีน้ำใช้อย่างพอเพียง และได้มาตรฐาน
การคมนาคม ถนนภายในหมู่บ้านโดยทั่วไปอยู่ในสภาพใช้งานได้ดี เป็นถนนคอนกรีต การเดินทางติดต่อกับชุมชนใกล้เคียง อ้าเภอหรือจังหวัดโดยเฉพาะกับสถานบริการสุขภาพที่ส้าคัญ เช่นโรงพยาบาลสถานีอนามัยหรือคลินิกต่างๆ การเดินทางของชุมชนไม่มีรถโดยสารประจ าทางผ่าน ส่วนมากจึงใช้รถส่วนตัว เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถซาเล้ง ในการเดินทางมารับบริการที่เทศบาลต าบลบ้านผือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านผือ ซึ่งมีระยะประมาณ 6-8 กิโลเมตร สภาพถนนไม่ค่อยดีมีทางคดเลี้ยวและมีล้มเยอะ ทำให้ยากต่อ การสัญจร พาหนะและค่าใช้จ่ายในการเดินทางตลอดจนจ้านวนพาหนะและความถี่ในการให้บริการ ชาวบ้านหนองผือมีการใช้พาหนะ ได้แก่ รถจักรยาน รถจักรยานยนต์ รถซาเล้งและรถยนต์ในการ เดินทาง และการเดินทางในชุมชนอยู่ติดกัน และสถานให้บริการสุขภาพอยู่ไกลจากหมู่บ้าน ต้องใช้รถส่วนตัว ในการมารับบริการ ทำให้ประชากรไม่สะดวกเข้ามารับบริการมากนัก สภาพถนนในแต่ละฤดูกาล ฤดูร้อน ถนนในหมู่บ้านมีฝุ่นเยอะ และมีมูลสัตว์เยอะ เนื่องจากในหมูบ้านมีการเลี้ยงวัวและควายเป็น จ านวน 296 ตัว 48 ครัวเรือน แบ่งเลี้ยงที่บ้าน 14 ครัวเรือน เลี้ยงที่นา 33 ครัวเรือน และเลี้ยงที่ลาน 1 ครัวเรือน ไม่ค่อยได้รับการท าความสะอาด ทำให้มีความสกปรกและกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ ฤดูฝน ถนนมีฝุ่นเยอะ และมีมูลสัตว์เยอะ แต่เมื่อระยะเวลาที่ฝนตกติดต่อกันยาวนานบางพื้นที่ถนน ในหมู่บ้านก็มีน้ าท่วมเนื่องจากระบายไม่ทัน และได้รับมูลน้ำจากเขื่อนอุบลรัตน์จำนวนมาก ทำให้มีน้ำท่วมถนน และภายในหมู่บ้าน ฤดูหนาว ถนนมีฝุ่นเยอะ และมีมูลสัตว์เยอะ
เชื้อชาติ ของประชากรบ้านหนองผือ หมู่ 7 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น พบว่า ประชากรเชื้อชาติไทย จำนวน 433 คน คิดเป็นร้อยละ 99 และมีเชื้อ ชาติเวียดนามจำนวน 1คน คิดเป็นร้อยละ 1
สัญชาติ ของประชากรบ้านหนองผือ หมู่ 7 ตำบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น พบว่า ประชากรสัญชาติไทย จำนวน 434 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ศาสนา ของประชากรบ้านหนองผือ หมู่ 7 ต าบลบ้านผือ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น พบว่าประชากรนับถือศาสนาพุทธ จำนวน 434 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ประวัติส่วนตัว ชื่อ-สกุล นายสายยนต์ ก าแพง เกิดวันที่ 31 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2491 อายุ 72 ปี อาชีพปัจจุบัน ท านา ที่อยู่ 91 หมู่ 7 บ้านหนองผือ ต.บ้านผือ อ.เหนองเรือ จ.ขอนแก่น เป็นบุตรของนางเกิ้ง ศิริ มีพี่น้องทั้งหมด 1 คน เป็นบุตรคนที่ 1 ด้านชีวิตครอบครัว สมรสกับนางบุญตา ก าแพง มีบุตรด้วยกัน 3คน ประวัติด้านการศึกษาและการท้างาน นายสายยนต์ ก าแพงเกิดเมื่อวันที่31 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2491 เมื่อเกิดได้ 1ปี พ่อและแม่ได้ แยกทางกัน ตาสายยนต์จึงอาศัยอยู่กับแม่ ตา และน้า ตอนเด็กได้ช่วยแม่และตา ทำนา เลี้ยงวัว เข้ารับ การศึกษาที่โรงเรียนบ้านหนองผือประชาสิทธิ์ ขณะเรียนได้เข้าการแข่งขันวิ่งของโรงเรียน ตาสายยนต์จบ การศึกษา ชั้นประถมศึกษาที่ 4 จบมาก็ท านาช่วยพ่อแม่ เมื่อคุณตาอายุ 21 ปี ได้บวชพระที่วัดศรีมงคล และสอบได้ธรรมตรี พร้อมกับได้รับใบประกาศ เมื่ออายุ 24 ปีได้แต่งงานกับคุณยายบุญตา ตาสายยนต์ เป็นคนที่มีจิตใจดีมีจิตอาสา ชอบช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอ ชอบทำงานจิตอาสาช่วยเหลืองานภายในหมู่บ้าน และเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอยู่เสมอ เมื่ออายุประมาน 46 ปีเริ่มเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข และท างาน จิตอาสาตลอดมา จึงได้รับเลือกเป็นประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนมาอย่าง ต่อเนื่อง เมื่อปี 2545 ตาสายยนต์ ได้เป็นสมาชิกองค์การบริการส่วนตำบล 2 วาระ คือ 8ปี เมื่อตำบลบ้าน ผือ เปลี่ยนมาเป็นเทศบาลตำบลบ้านผือ ตาสายยนต์ได้ผันตัวมาเป็นกรรมการหมู่บ้าน เป็นที่ปรึกษาของ ชุมชน และยังเป็นรองประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ปัจจุบันตาสายยนต์ป่วยด้วยโรคนิ่วในไต ได้รับ การรักษาที่โรงพยาบาลหนองเรือ คุณตามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองโดยเดินออกกำลังกาย แกว่งแขนทุกวันในตอนเช้า เป็นหนึ่งในบุคคลที่ช่วยพัฒนาทำให้คนในชุมชมมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีรายได้ เสริมจากการทำกลุ่มโค กระบือ และเป็นโครงการที่ทำให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ตาสายยนต์จึงนับว่าเป็นบุคคลที่สำคัญในการขับเคลื่อนชุมชนบ้านหนองผือ หมู่ที่ 7
ประวัติส่วนตัว ชื่อ-สกุล นางสาวแก้วบังอร พร้อมวงค์ เกิดวันที่ 10 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2525 อายุ 37 ปี อาชีพปัจจุบัน ว่างงาน ที่อยู่63 หมู่ 7 บ้านหนองผือ ต.บ้านผือ อ.เหนองเรือ จ.ขอนแก่น เป็นบุตรของนายใส พร้อมวงค์ กับนางสละพร้อมวงค์ มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน เป็นบุตรคนที่ 2 ด้านชีวิต ครอบครัว สถานภาพโสด ประวัติด้านการศึกษาและการท้างาน นางสาวแก้วบังอร พร้อมวงค์ เกิดเมื่อวันที่10 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2525 ชีวิตในวัยเด็กนางสาวแก้ว บังอรเป็นคนขยัน ช่วยพ่อแม่ทำงานบ้าน และได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนบ้านหนองผือประชาสิทธิ์ ขณะ เรียนได้เป็นนักวิ่งของโรงเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน นางสาวแก้วบังอรจบการศึกษา ชั้น ประถมศึกษาที่ 6 จบมาก็ได้ช่วยพ่อแม่ทำงานบ้าน ทำนา เมื่ออายุ 15 ปี ได้ทำงานร้านอาหารที่ขอนแก่น ทำงานได้ประมาณ3-4 เดือน ได้ลาออกและไปทำงานกรุงเทพ ได้ระยะเวลา 1ปี จึงกลับมาอยู่บ้านและทำงาน ที่อำเภอหนองเรือ ขณะนั้นนางสาวบังอรได้ประสบอุบัติเหตุซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ชนกับรถยนต์ ทำให้ขา ข้างขวามีแผลฉีกขาดและกระดูกหักหลายชิ้น ไม่สามารถรักษาได้ จึงต้องตัดขาข้างขวา ทำให้นางสาวแก้วบังอร มีความพิการด้านร่างกาย ในช่วงแรกนั้นนางสาวแก้วบังอรไม่สามารถปรับตัวได้และมีความเสียใจมาก แต่ได้รับ การช่วยเหลือและกำลังใจที่ดีจากครอบครัว ทำให้สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติ เมื่ออายุ 25 ปีนางสาว แก้วบังอรได้รับขึ้นทะเบียนเป็นผู้พิการ และได้รับเบี้ยผู้พิการ จำนวน 500 บาท และได้ช่วยพ่อทำปลาส้มขาย ช่วยทำงานบ้านทุกอย่าง ช่วยพี่สาวและน้องสาวเลี้ยงหลาน ปัจจุบันนางสาวแก้วบังอรอายุ 37 ปี มีการดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ปกติ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และช่วยยังแบ่งเบาภาระการทำงานของครอบครัว และเป็น ผู้ที่มีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น มีสัมพันธภาพที่ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส มองโลกในแง่ดี นับเป็นบุคคลที่มติชีวิตที่ด
แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในเขตของชุมชน
แหล่งน้้า 1.บึงหนองผือ เป็นแหล่งน้ำใหญ่ตามธรรมชาติ มีพื้นที่ประมาณ 400 ไร่ ใช้ประโยชน์ทำนา การประปา ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ หาอาหารและเป็นที่ท่องเที่ยวการประมง ภายในบึงหนองผือ มีต้นผือจำนวน มากทำให้ชาวบ้านนำต้นผือาใช้ในการทำประโยชน์โดยการทอเสื่อหลาย ซึ่งถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ ของชุมชนบ้านหนองผือ 2.ประปาผิวดิน มีจำนวน 1 แห่ง ชาวบ้านหนองผือน้ำใช้ในการอุปโภค 3. เขื่อนอุบลรัตน์ เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าและพลังงานน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยาว 885 เมตร สูง 32 เมตร สันเขื่อนกว้าง 6 เมตร อ่างเก็บน้ำมีความจุ 2,263 ล้าน ชาวบ้านหนองผือใช้ประโยชน์ 3 ในการหาอาหารและหารายได้ เช่นหาปลามาประกอบอาหารและทำปลาส้มขาย ใช้ในการทำนาทั้งนาปีและนา ปัง และยังใช้ประโยชน์ในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประมง
2 ทรัพยากร 1.พืชผัก ผลไม้ชาวบ้านหนองผือมีการปลูกผัก ผลไม้ตามพื้นที่ดอน ได้แก่ โดย อาศัยน้ำจากบึงหนองผือ และน้ำจากเขื่อนอุบลรัตน์ 2.ข้าว ชาวบ้านหนองผือ มีอาชีพในการทำนาเป็นหลัก โดยการทำนาจะแบ่งเป็น 2 ช่วงคือ นาปัง จะทำในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ และเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม เมื่อเก็บ เกี่ยวข้าวเสร็จจะเตรียมนาดิน และลงเมล็ดข้าวทำนาปีในเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม 3.สัตว์ มีวัตถุประสงค์เลี้ยงเพื่อขายและเป็นอาหาร เช่น วัว ควาย เป็ด ไก่ ซึ่งวัว ควายนั้นจะมีนายหน้าเข้ามารับซื้อ 1.1.4.3 ป่าไม้ มีพื้นที่ป่าไม้ เช่น ที่สาธารณะโคกหนองดู่ ปลูกไม้นานาชนิด ตั้งอยู่ที่ ใช้ในการหาอาหาร เช่น เห็ดต่างๆ หน่อไม้ และหาสมุนไพรเพื่อนำทำยารักษาโรค
ผู้คนในชุมชนบ้านหนองผือใช้ภาษาไทยและตัวอักษรไทยในการพูดและการอ่านเขียน
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนที่ปรากฏเห็นชัดเจนในด้านประชากรโดยมีรายละเอียดดังนี้ การเปลี่ยนแปลงของสังคมไปสู่ความทันสมัย ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม คนในชุมชนมีการสร้างบ้านแบบสมัยใหม่ที่ไม่เอื้อต่อการแบ่งแยกพื้นที่ระหว่างผีกับคน หรือระบบความติดของคนรุ่นใหม่ในสังคม ส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย เนื่องจากอิทธิพลของระบบสื่อในมิติต่างๆ ที่มีความรวดเร็วเชื่อมโยงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อของทั้งคนรุ่นเก่าและใหม่ กระกอบกับอิทธิพลทางการศึกษาสมัยใหม่ที่สอนให้คนเชื่อในหลักการวิทยาศาสตร์ ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางความคิดและความเชื่อ
ชุมชนบ้านหนองผือมีจุดที่น่าสนใจอื่นๆเช่น ร้านแม่พิกุล ปลาส้ม ร้านปาริชาติธงฟ้า ร้านแม่บังอร และ วัดช่องฮวก บ้านหนองผือ
จากการสำรวจข้อมูลของนักศึกษาจากวิทยาลัยบรมราชชนนี ขอนแก่น