หนองเรือตระการ จักสานไม้ไผ่ ไก่ย่างทางพาด ตลาดกะหล่ำ เลิศล้ำเพชรพลอยเจียระไน พระใหญ่ภูเม็งทอง
หนองเรือตระการ จักสานไม้ไผ่ ไก่ย่างทางพาด ตลาดกะหล่ำ เลิศล้ำเพชรพลอยเจียระไน พระใหญ่ภูเม็งทอง
พ.ศ.2487 ชาวบ้านหว้า ต.โนนทันย้ายถิ่นมาสร้างเรือนเป็นกลุ่มแรกและสร้างศาลปู่ทองคำ
พ.ศ.2490 คุ้มหนองหัวนาได้แยกบ้านหว้ามาตั้งเป็นกกุดกว้าง หมู่ 4
พ.ศ.2497 ชาวบ้านแยกออกจากบ้านกุดกว้างเป็น กม.53 และ กม.52 รวมเป็นหมู่ 12
พ.ศ.2535 บ้าน กม.53 แยกจาก กม.5 ตั้งเป็นบ้านโนนสง่า หมู่16
1. แผนที่เดินดิน
1.1. ที่ตั้งของชุมชน
บ้านโนนสง่า หมู่ที่ 16 อยู่ในเขตการปกครองของตำบลกุดกว้าง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
การเดินทางเข้าสู่ชุมชนจากศาลากลางจังหวัดขอนแก่นสมารถดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว ถนมะลิวัลย์ จากศาลา
กลางจังหวัดขอนแก่น ไปทิศตะวันตกผ่านอำเภอหนองเรือ รวมระยะทาง 53.2 กิโลเมตร
มีเนื้อที่ทั้งหมด 1289 ไร่ พื้นที่อยู่อาศัย 30 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร 315ไร่ 3 งาน พื้นที่
ทิศเหนือ ติดกับบ้านโนนทัน
ทิศใต้ ติดกับบ้านหนองแวง
ทิศตะวันออก ติดกับบ้านกอมอ 52
ทิศตะวันตก ติดกับบ้านกระแต
จากการสำรวจแผนที่เดินดิน พบว่า บ้านโนนสง่ หมู่ที่ 16 มีจำนวนครัวเรือน 52 ควัวเรือน พื้นที่ส่วน
ใหญ่ของชุมชนจะเป็นทุ่งนาและไร่อ้อย มีถนนรอบๆชุมชน มีการตั้งบ้านเรือนตามถนนที่ตัดผ่าน บ้านค่อนช้าง
ติดกัน แต่ละหลังมีพื้นที่ใช้สอยรอบบ้าน อัตราส่วนในแผนที่เดินดิน 1 : 2000
การคมนาคมภายในชุมชนมีถนนเส้นหลักผ่านบริเวณหน้าหมู่บ้าน และมีถนนคอนกรีตสัญจรภายในชุมชน
และถนนลูกรังในบางส่วน ส่วนใหญ่ใช้รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ประซากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริมรับจ้างทั่วไปและอื่นๆ มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไชมันใน
เลือดสูง
1.3 ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศบ้านโนนสง่า หมู่ 16 ตำบลกุดกว้าง อำเภอหนองเรื่อ จังหวัดขอนแก่น โดยพื้นที่ส่วน
ใหญ่เป็นพื้นที่ราบ ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทราย และดินเหนียว เหมาะสำหรับทำการเกษตร พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้
ทำการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ เช่น ปลูกข้าว ปลูกอ้อย เลี้ยงปลา เลี้ยงโคและกระบือ เป็นต้น
1.4 ลักษณะภูมิอากาศ
มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อน มี 3 ฤดูดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เตือน มีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคม ฤดูร้อนมีอากาศร้อนและแห้งแล้ง พื้นที่รอบหมู่บ้านเป็น
พื้นที่ของประชาชนหมู่บ้านอื่นที่ปล่อยที่ให้โรงงานน้ำตาลเซ่าที่เพื่อปลูกอ้อย โดยช่วงเดือน เมษายน เป็นช่วงฤดู
เก็บเกี่ยวอ้อย ประชาชนจะได้รับผล กระทบ คือ มีรถบรรทุกอ้อยวิ่งผ่านชุมชน ทำให้ถนนชำรุด อีกทั้งยังมีเศษใบ
อ้อยร่วงลงบนถนนและหลังจากเก็บเกี่ยวอ้อย
ฤดูฝน
เริ่มตั้งแต่เดือน มิถุนายน ถึงเตือน กันยายน ในฤดูฝนจะมีฝนตกตามฤดูกาล จะมีการทำนาโดยอาศัย
น้ำจากฝนตก และจะมีบางปีที่ฝนตกหนัก จะเกิดน้ำท่วมบริเวณนาข้าวของประชาชน และในชุมชนจะมีปัญหาน้ำ
กักชังดามพื้นที่ต่งๆตามถนน เนื่องจากในหมู่บ้านไม่มีท่อระบายน้ำ
ฤดูหนาว
ริ่มตั้งแต่เตือน ตุลาคม ถึงเดือน กุมภาพันธ์ ซึ่งมีอากาศหนาวเย็น และแห้ง ทำให้เสี่ยงต่อก
ทางระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด หอบหืด เป็นต้น และในช่วงนี้จะมีการทำนาปรัง โดยใช้น้ำจากน้ำบาดาล
และมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าว และจะมีประชาชนบางกลุ่มเดินทางไปรับจ้างตัดอ้อยที่ต่างจังหวัด
1.5 การคมนาคม
นนทางเข้าชุมชนบ้านโนนสง่าเป็นถนนลาดยาง ส่วนถนนภายในชุมชนร้อยละ 70 เป็นถน
ะได้รับกสนับสนุนงบประมาณจากทศบาลตำบลกุดกว้าง ซึ่งถนนมีวามกว้างประมาณ 5 เมตร ส
เป็นถนนลูกรังในบางส่วน รวมทั้งไฟส่องสว่างบริเวณนนในเวลากลางคืนไม่เพียงพอ
ทางจากชุมชนบ้านโนนสง่ามีระยะทางห่างจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กิโลเมตร ส่วนถนนที่ใช้เดินทางไปที่ว่าการอำเภอเป็นถนนลาดยางห่างจากชุมชนประมาณ 2 กิโลเมตร ห่างจาก
จังหวัดขอนแก่นประมาณ 53.2 กิโลมตร โดยส่วนใหญ่ประชาชนในชุมชนจะใช้ยานพาหนะเป็นรถยนต์และ
รถจักรยานยนต์ในการเดินทาง เนื่องจากบางส่วนเป็นถนนลูกรัง สภาพพื้นถนนค่อนข้างอยู่ในสภาพดี ไฟถนนส่อง
สว่างบริเวณถนนในเวลากลางคืนสว่างไม่เพียงพอ ส่งผลทำให้เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนได้ง่าย
1.6 การติดต่อสื่อสาร
ภายในชุมชนจะใช้หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน ซึ่งตั้งอยู่ที่ศาลาประชาคม ซึ่งจะมีการใช้เสียงเมื่อมี
ข่าวสำคัญของทางราชการ หรือเมื่อต้องการแจ้งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับชุมชนให้ประซาชนในชุมชนได้รับทราบโดย
จะประกาศในช่วงเวลาที่มีงสนสำคัญหรืองานเทศกาลต่างๆ การได้ยินทั่วถึงครบทุกครัวเรือน นอกจากนี้ประชาชน
ยังได้รับข้อมูลข่าวสารต่างๆด้านสุขภาพจากสื่อโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต อสม. และบุคลากรทางสุขภาพ
1.7 แหล่งประโยชน์ในหมู่บ้านและตำบล มีดังนี้
วัดพุทธ 1 แห่ง (วัดเทพนิมิตรตอนเมือง )
มีวัดพุทธในชุมชน 1 แห่ง มีพระรักษาการเจ้าอาวาส ปัจจุบันมีพระจำพรรษาในวัดจำนวน 1 รูป เป็น
นที่ยืดเหนี่ยวทางจิตใจ ซึ่งชาวบ้านมักจะไปทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รวม
านที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของชุมชน และผลต่อแบบแผนการดำเนินชีวิตและสุขภาพจิตใจ
ศาลปู่ตา 1 แห่ง
ภายในชุมชนมีศาลปู่ตาจำนวน 1 แห่ง เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชุมชนโนนสง่าตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน ศาลปู่ตาจะตั้งอยู่ในเขตที่สาธารณะประโยชน์ของหมู่บ้าน สถานที่ร่มรื่นเป็นสัดส่วน ซึ่งจะต้องมีการเลี้ยงปู่
ตาเป็นประจำทุกปี จะทำให้คนในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีไม่มีเหตุร้ายเกิดขึ้นในชุมชนเพราะว่าปู่ตาจะ
ปกป้องรักษาดูแล หากจะมีเหตุการณ์ที่ไม่ดีปู่ตาก็จะช่วยปกป้องได้ที่ไม่ดีปูตาก็จะช่วยปกป้องได้
ศาลาประชาคม 1 แห่ง
ภายในชุมชนมีศาลาประชาคม 1 แห่ง ตั้งอยู่กิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กระจายข่าวสาร
ภายในหมู่บ้าน ศาลาประชาคมสามารถใช้ทำกิจกรรมของชุมชน
หอกระจายข่าว 1 แห่ง
เป็นแหล่งประโยชน์ใช้เพื่อกระจายข่าวสารให้กับประชาชนในชุมชนได้รับทราบ หรือใช้เพื่อการ
กระจายเสียงสำหรับการให้ข้อมูลหรือความรู้ต่างๆ เช่น ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตัวในช่วงการแพร่ระบาดของโค
วิด-19 เป็นต้น
ร้านค้าขายของชำ 5 แห่ง
คนในชุมชนจะมาซื้อของเพื่อนำไป อุปโภค บริโภคในครัวเรือน เช่น น้ำปลา ซอสปรุงรสหรือเครื่องปรุง
ชนิดต่างๆ กระเทียม อาหารแห้ง สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม ผงชักฟอก ขนมขบเคี้ยวต่างๆ มีการประเภทยาลดไข้ ยา
แก้ปวด ยาบรรเทา อาการหวัด ยาลดกรดในกระเพาะอาหารและยานวดบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ น้ำยา
ล้างแผล อีกทั้ง ยังจำหน่ายทั้งสุรา เบียร์ และบุหรี่
1.8 สาธารณูปโภคในชุมชน
การโทรคมนานคม ส่วนใหญ่มีโทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้และมีอินเทอร์เน็ตประชารัฐในชุมชน
การไฟฟ้า มีไฟฟ้าใช้ครอบคลุมทุกครัวเรือน
น้ำดื่ม มีน้ำดื่มเพียงพอตลอดปี โดยมีการซื้อน้ำถังจากโรงงานผลิตน้ำดื่ม
น้ำใช้ เป็นน้ำประปาสะและน้ำปาตาลอาดใช้เพียงพอครอบคลุมทุกครัวเรือนตลอดปี
1.9 สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน
1.9.1 การกำจัดขยะมูลฝอย
มีการกำจัดขยะโดย ขยะทั่วไปเป็นขยะที่อาจจะนำมาใช้ใหม่ไม่ได้ ย่อยสลายได้ยาก ไม่คุ้มกับการ
แปรรูปกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ เศษถุงพลาสติกต่างๆ แนวทางในการจัดการ คือ ส่วนใหญ่จะเก็บรวบรวมใส่ถังและจะ
มีรถเก็บขยะของเทศบาลมาเก็บไปทำลาย และมีบางครัวเรือนเก็บรวบรวมไปเผากลางแจ้ง ที่บริเวณบ้านและที่นา
ของตนเอง
1.9.2 การระบายน้ำเสีย
การระบายน้ำเสียของครัวเรือน ส่วนใหญ่จะระบายน้ำโดยปล่อยให้น้ำเสียซึมลงสู่พื้นดิน ในชุมชน
ยังไม่มีท่อระบายน้ำเสียทำให้มีปัญหาน้ำขังและมีการส่งกลิ่นเหม็น
1.9.3 การกำจัดมูลสัตว์
การกำจัดมูลสัตว์ ส่วนใหญ่ในหมู่บ้านจะเลี้ยงสัตว์ เช่น วัวสุนัข ไก่ ทำให้มีมูลสัตว์บริเวณถนน
หน้าบ้าน ประชาชนมีการกำจัดมูลวัวโดยนำไปใช้ในไร่นา และมีปัญหาการส่งกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
1.9.4 การใช้ส้วม
ในชุมชนมีส้วมทุกหลังคาเรือน ส่วนใหญ่ส้วมจะอยู่ภายในตัวบ้าน บางบ้านส้วมอยู่นอกตัวบ้าน
ส้วมส่วนใหญ่เป็นส้วมซึมโดยใช้น้ำในการชำระล้างห้องน้ำ ส่วนใหญ่ถูกสุขลักษณะไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีคราบตะไคร่
น้ำ ภายในห้องน้ำพื้นห้องน้ำเป็นพื้นปูนหยาบไม่มีราวจับ
ผังเครือญาติของนายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย จะเห็นได้ว่า นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย เป็นบุตรของนางหนูปั่น ศิริวิชัย
กับ นายเสงี่ยม ศิริวิชัย มีพี่น้องร่วมกัน 4 คน
1.นายสุวรรณสิทธิ ศิริวิชัย
2.นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย
3.เด็กหญิงเพ็ญประภา ศิริวิชัย (เสียชีวิต ตอนอายุ 3ปี)
4.นายสุรพงษ์ ศิริวิชัย ต่อมานายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย ได้สมรสกับนางอุทัย ศิริวิชัย มีบุตรร่วมกัน 3 คน
ปัจจุบันอาศัยอยู่กับภรรยา บุตรสาวคนโต บุตรสาวคนสุดท้อง ลูกเขย และหลานชาย บุตรคนกลางและลูกเขย ไป
ทำงานที่ต่างจังหวัด
ตระกูลศิริวิชัย เป็นตระกูลที่น่าสนใจมากที่สุด นักศึกษาจึงเลือกที่จะศึกษาตระกูลศิริวิชัย และมีบุคคลใน
ตระกูลศิริวิชัย มีบทบาทในชุมชน คือ นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย เป็นประธานอสม. เป็นอดีตผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เป็น
อดีตผู้ใหญ่บ้าน และเป็นนักปราชญ์ชาวบ้าน มีบทบาทเป็นหมอจ้ำ โดยตระกูลศิริวิชัย โดยรวมบุคคลในครอบครัวมี
สุขภาพดี
ด้านการบริหารหมู่บ้าน
รายชื่อผู้นำชุมชน
1.นายเธอ พาคุณ ผู้ใหญ่บ้าน
2.นางมาราตรี แข็งแอ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
3.นางสาวหทัยรัตน์ มาสุรินทร์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน
1. นายสำรวย แสงราชา
2. นายสันทัศน์ เสี่ยมแหลม
3. นายสำรอง รวมสิทธิ์
4. นายสุพจน์ คำพาเคน
5. นายคำหมื่น คำเวียง
6. นายนายสถิต ปริรูโป
7. นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย
8. นางประนอม รวมสิทธิ์
9. นายเอกพงษ์ กาฬพันธ์
10. นางมาราตรี แข็งแอ
11.นายประทวน ศรีสรรค์
12.นายเล้ ห่อคนดี
13.นายอำนวย ดงบัง
กิจกรรมที่ดำเนินการ
1. บริหารจัดการ โครงการ รวมถึงงบประมาณต่างๆภายในชุมชน
2. ช่วยดูแลปัญหาต่างๆ ภายในชุมชน บำบัดทุกข์บำรุงสุข รับการร้องเรียนจากคนในชุมชน
3. จัดการประชุมหมู่บ้าน เพื่อรับฟังปัญหาจากคนในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
4. จัดประชาคมเพื่อฟังเสียงของคนในชุมซน จากนั้นจะนำเรื่องไปเสนอในที่ประชุมเทศบาล
5. ดีงงบประมาณมาจัดทำโครงการในหมู่บ้าน
6. ดูแลงานทะเบียนทั้งหมดในหมู่บ้าน และประสานงานกับอำเภอ
อาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
1. นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย
2. นางสมใจ สุขชัย
3.นางนวลละออง ศรีสรร
4. นางสวัสดิ์ กาฬพันธ์
5.นางประนอม รวมสิทธิ์
6.นางสุภาวัลย์ หนูจันทร์
7.นางสมคิด ดงบัง
กิจกรรมที่ดำเนิน ผู้ที่จะสมัครและได้รับคัดเลือกเข้ามาเป็นอาสาสมัครในการดูแลสุขภาพอนามัยของเพื่อนบ้าน ต้องเป็นบุคคลที่มีจิต
อาสาและไม่หวังผลตอบแทนใดๆ
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ้ายพลเรือน (อปพร.)
1. นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย
2. นายสถิต ปริรูโป
3.นายอำนวย ดงบัง
4.นายภาณุทรรศน์ สุขชัย
5.นายประทวน ศรีสรรค์
6. นายชมพู ห่อคนดี
7.นายเธอ พาคุณ
กิจกรรมที่ดำเนินการ
1. ดูแลความปลอดภัยของคนในชุมชน
2. อำนวยสะดวกเวลามีกิจกรรมหรืองานต่างๆภายในชุมชน
3. ช่วยเหลือคนในชุมชนเมื่อมีปัญหาหรือต้องการความช่วยเหลือ
อาสาพัฒนาชุมชน
1.นางสำรวย แสงราชา
2. นายพรชัย ยอดเพชร
3. นายเอกพงษ์ กาฬพันธ์
4.นางประนอม รวมสิทธิ์
กิจกรรมที่ดำเนินการ
1.จัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช.2ค
2.ขับเคลื่อนแผนชมชน
3.ขับเคลื่อนศูนย์เรียนรู้ชุมชน
4.ส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
5.อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
6.ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7.ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
8.การแก้ไขปัญหาความยากจน
9.ส่งเสริมอาชีพ
10.ส่งเสริมทุนชุมชน
คณะกรรมการป้องกันและต่อต้านยาเสพติดระดับหมู่บ้าน
1. นายเธอ พาคุณ
2. นายประทวน ศรีสรรค์
3. นายสันทัดน์ เสี่ยมเหลี่ยม
4. นายพิพัฒนพงษ์ โม้แซง
5. นายประจิน คำเวียง
6. นายคำหมื่น คำเวียง
7. นายสุพจน์ คำผาเคน
8. นายสำรอง รวมสิทธิ
9. นางสมใจ สุขชัย
10. นางประนอม รวมสิทธิ์
11.นายประดิษฐ์ เวียงยศ
12. นายอำนวย ดงบัง
13.นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย
14.นายไพรัตน์ รัตนคำมูล
15.นายวิสิทธิ์ ท้าวทา
16. นางสำรวย แสงราชา
17. นายเล้ ห่อคนดี
18. นายสถิต ปริรูโป
20. นายชูศิลป์ จำปาหวาย
21. นายเอกพงษ์ กาฬพันธ์
กิจกรรมที่ดำเนินการ
มีการกิจเกี่ยวกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดของประเทศโดยการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
แก้ไขปัญหายาเสพติดให้เหมาะสม
คณะกรรมการกองทุนฌาปนกิจหมู่บ้าน
1. นางสวัสดิ์ กาฬพันธ์
2. นายสำรวย แสงราชา
3. นายสันทัศน์ เสี่ยมแหลม
4. นายพิพัฒนพงษ์ โม้แซง
5. นายประจิน คำเวียง
6. นายคำหมื่น คำเวียง
7. นายสุพจน์ คำผาเคน
8. นายนายสถิต ปริรูโป
9. นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย
กิจกรรมที่ดำเนินการ การชำระเงินสงเคราะห์มื่อสมาชิกของสมาคมถึงแก่กรรม สมาชิกทุกคนจะต้องจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อเป็น
ค่าจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัว ผู้ตายรายละ 35 บาท และเมื่อสมาชิกของสมาคมถึงแก่กรรมครอบครัวขอ
ผู้ตาย จะได้รับค่าตอบแทนจำนวน 35,000 บาท
คณะกรรมการกองทุนวันละบาท
1. นายเธอ พาคุณ (ประธาน)
2.นางมาราตรี แข็งแอ (รองประธาน)
3.นางสาวหทัยรัตน์ มาสุรินทร์ (เลขา)
4.นางสุภาพร คำพาเคน (เลขา)
5. นางสวัสดิ์ กาฬพันธ์ (กรรมการ)
6.นางสุภาวัลย์ หนูจันทร์(กรรมการ)
กิจกรรมที่ดำเนินการ มีสมาชิกทั้งหมด 33 คน มีงบจากการออม 2,000,000 บาท สมาชิกจะได้รับสวัสดิการ ในกรณีที่คลอดบุตรจะได้
500บาฟ/คน เข้าโรงพยาบาล 1,000 บาท เสียชีวิต 1,200 บาท
คณะกรรมการกองทุนสตรีหมู่บ้าน
1.นางมาราตรี แข็งแอ (รองประธาน)
2.นางสาวหทัยรัตน์ มาสุรินทร์ (เลขา)
3.นางสุภาพร คำพาเคน (เลขา)
5. นางสวัสดิ์ กาฬพันธ์ (กรรมการ)
6.นางสุภาวัลย์ หนูจันทร์(กรรมการ)
7. นางสมใจ สุขชัย (กรรมการ)
กิจกรรมที่ดำเนินการ
เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี การแก้ไขปัญหา
สตรีขององค์กรต่างๆ การสร้างภาวะผู้นำ การพัฒนาองค์ความรู้ คุณภาพชีวิต รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ด้านเศรษฐกิจและสังคมของสตรี
มกราคม
กิจกรรมวัฒนธรรมประเพณีด้านศาสนา กิจกรรมด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบต่อสุขภาพ
1.บุญขึ้นปีใหม่วันที่ 1 มกราคมของทุกปี ประชาชนในชุมชนจะร่วมกันทำบุญตักบาตรอุทิศส่วนบุญให้บรรพบุรุษและญาติผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว มีการจัดเลี้ยงเล็กๆ รับประทานอาหารร่วมกัน อวยพรซึ่งกันและกันในเครื่อญาติ
1.ทำการเกษตร (ตัดอ้อย)
1.บุญขึ้นปีใหม่อาจเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุและการแพร่ระบาดของโรค เช่น โควิด 19 เนื่องจากมีการจัดเลี้ยงรับประทานอาหารร่วมกันและอาจมีการดื่มแอลกอฮอล์ร่วมด้วยอาจทำให้ขาดสติสัมปชัญญะ ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุได้สติสัมปชัญญะ ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุได้
2. บุญคูณลาน โดยปกติบุญคูณลานหรือบุญสู่ ขวัญข้าว จะถูกจัดขึ้นในเดือนยี่ของทุกปี จึงทำ ให้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "บุญเดือนยี่" ซึ่งการทำบุญคูณลานของแต่ละพื้นที่จะจัดไม่พร้อมกัน ขึ้นอยู่กับการเก็บเกี่ยวข้าวว่าจะเสร็จช่วงไหนวันที่จะขนข้าวขึ้นฉางข้าวจะเป็นวันทำบุญคูณลานก่อนที่จะทำการนวดข้าวนั้น จะทำพิธีย้ายพระแม่ธรณีออกจากลานเสียก่อน และบอกกล่าวพระแม่โพสพโดยมีเครื่องประกอบพิธี เช่น ใบคูณ ใบยอ ยาสูบ หมาก ไข่ ดอกไม้ธูปเทียน เป็นต้น จากนั้นเมื่อพร้อมแล้วก็จะบรรจุลงในก่องข้าว (กระติบข้าว) ซึ่งเรียกว่าขวัญข้าว ก่อนเชิญพระแม่ธรณีออกจากลานและบอกกล่าวพระแม่โพสพแล้วจึงนาเครื่องประกอบพิธีบางส่วนไปวางที่หน้ากองข้าว เสร็จแล้ว
2.ทำการเกษตร (ตัดอ้อย) อาจก่อให้เกิดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามร่างกายหรืออุบัติเหตุจากของมีคมที่ใช้ในการตัดอ้อยรวมทั้งเกิดฝุ่นเศษอ้อยตามบรรยากาศจากการเผาอ้อย ซึ่งอาจมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ
เจ้าของตั้งอธิษฐาน แล้วก็ดึงเอามัดข้าวที่กองข้าวออกมานวดแล้วเอาพ่อนข้าวที่นวดแล้วมา
ห่อก้มก่องข้า เมื่อนวดเสร็จแล้วทำกองข้าวให้สูงสวยงาม เพื่อที่จะประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญข้าว วันงานก็จะบอกกล่าวญาติพี่น้องให้มาร่วมทำบุญ นิมนต์พระสงค์มาเจริญพระพุทธมนต์เสร็จแล้วจึงถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์พระสงฆ์อนุโมทนาประพรมน้ำมนต์ นำน้ำมนต์ไปรดกองข้าว วัว ควาย เมื่อเสร็จพิธีทางสงฆ์แล้วก็จะเป็นการประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญแก่ข้าว ซึ่งจะทำที่ลานบ้าน หลังจากสู่ขวัญเสร็จก็จะขนข้าวขึ้นฉางข้าวและเชิญขวัญข้าวและแม่โพสพขึ้นไปยังเล้า
กุมภาพันธ์
1.บุญข้าวจี่ ชาวบ้านจะนัดวันขึ้น 15 ค่ำของ เดือนสามจะมีการจัดเตรียมข้าวจี่แต่ย่ำรุ่ง เพื่อให้สุกทันใส่บาตร โดยการปั้นข้าวเหนียวให้ เท่ากับไข่เป็ดขนาดกลางแล้วคลุกเกลือย่างไฟ พอสุกก็นำมาคลุกไข่ไก่และนำมาย่างไฟอีกรอบ จนกว่าไข่จะสุกประชาชนในหมู่บ้านมีความเชื่อ ว่าจะได้บุญกุศลมาก
1.ทำการเกษตร (ตัดอ้อย)
1.ทำการเกษตร(ตัดอ้อย) อาจ ก่อให้เกิดอาการปวดเมื่อย กล้ามเนื้อตามร่างกายหรือ ตัดอ้อยรวมทั้งเกิดฝุ่นเศษอ้อ อุบัติเหตุจากของมีคมที่ใช้ในการตัดอ้อยตามบรรยากาศจากการเผาอ้อย ซึ่ง อาจมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ
มีนาคม
เดือนมีนาคมไม่มีประเพณีบุญผะเหวด เนื่องจากเป็นหมู่บ้านเล็กๆประชากรน้อย
เมษายน
1.งานประเพณีสงกรานต์ ประชาชนในชุมชนจะมีการประกอบกรรมทางศาสนา เช่น ทำบุญตักบาตร ขนทรายเข้าวัด เลี้ยงพระพังเทศน์สรงน้ำพระและรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุและผู้ใหญ่ในชุมชน เพื่อขอพรให้อยู่เย็นเป็นสุข
พฤษภาคม
ไม่งานประเพณี เดือนพฤษภาคมไม่มีบุญบั้งไฟ เนื่องจากเป็นชุมชนขนาดเล็ก
มิถุนายน
ไม่งานประเพณี เดือนมิถุนายนไม่มีบุญประจำเดือนเนื่องจากประชากรมีจำนวนน้อย
กรกฏาคม
1.ประเพณีเข้าพรรษา การที่พระสงฆ์อยู่ประจำอาวาสแห่งเดียวตลอด 3 เดือน ในฤดูฝนเรียกว่าพรรษาโดยปกติกำหนดเอาแรม 1 ค่ำเดือน 8 เป็นวันเข้าพรรษา ชาวบ้านจะมีการเตรียมเทียนเพื่อไปถวายวัด รวมทั้งเครื่องปัจจัยไททายต่างๆโดยเฉพาะเครื่องสำหรับให้แสงสว่าง แม้ปัจจุบันจะเจริญแล้วแต่ยังรักษาฮีตเดิมโดยการนำเทียน ตระเกียงน้ำมัน ธูปเทียนไปถวายเช่นเดิม และการนำถวายผ้าอาบน้ำฝนเพื่อใช้อาบน้ำช่วงฤดูฝน
สิงหาคม
1.บุญข้าวประดับดิน เป็นบุญสิ้นเดือนเก้า ที่เรียกอีกอย่างว่า บุญข้าวสาก นำอาหารคาวหวาน หมากพลูบุหรี่จัดใส่กระทงวางไว้บนพื้นใต้ต้นไม้เพื่อเป็นการเช่น ดวงวิญญาณของบรรพบุรุษที่มีความสำคัญต่อชาวอีสาน เพราะเชื่อว่าเป็นบุญที่ต้องส่งส่วยให้กับผีฮักและผีบรรพบุรุษ เพื่ออให้เกิดความเป็นอยู่ ทรัพย์สินอาหารอุดมสมบูรณ์
กันยายน
1.บุญข้าวสาก เป็นบุญที่ทำเพื่ออุทิศให้แก่ผู้ตายหรือเปรต โดยมีเวลาห่างจากบุญข้าวประดับดินเพียง 15 วันเป็น เวลาที่เปรตต้องกลับไปอยู่ที่ของตน ซึ่งทั้งสองบุญนี้จะมีลักษณะคล้าย ๆ กันคือการห่อข้าวส่งให้เปรตรวมทั้ง บรรพบุรุษญาติพี่น้องของผู้ทำบุญด้วยและเปรตไม่มีญาติด้วย
ตุลาคม
1.ประเพณีออกพรรษา เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน11 เป็นวันออกพรรษา วันปวารนา เป็นบุญที่ อ้อความสำคัญเพราะเชื่อว่า พระสงฆ์ได้อยู่จำ เดืพรรษาเป็นเวลาไตรมาส (3 เดือน) ย่อมมีความ กาบริสุทธิ์ จริยธรรมงดงามจะมาซึ่งบุญ และได้ โดบุญมาก ชาวบ้านจะร่วมกันทำบุญตักบาตรเทโวที่วัด และฟังธรรมเทศนาและกลางคืนจะจุด เประทีปเพื่อความสว่างไสวพร้อมมีการจุดปะทัดเสียงดังสนุกสนานหวั่นไหวด้วย
พฤศจิกายน
1.บุญกฐิน กฐิน คือ ไม้สะดึงที่ใช้สำหรับขึงผ้าเวลาจะเย็บผ้าจีวรพระในการเย็บให้สะดวกขึ้นจึงเป็นที่มาของผ้ากฐิน คือ ผ้าจีวร สบงหรือผ้านุ่งห่มที่จะนำไปถวายพระนั่นเองบุญกฐินจึงคือบุญที่ต้องนำเข้าไปถวายพระเป็นสำคัญ บุญกฐินเป็นบุญตสุดท้ายของฮีตเดือนสิบสองของชาวอีสานชาวอีสานจึงรู้ดีว่าช่วงนี้เป็นช่วงที่ต้องนำจีวรไปถวายในช่วงนี้ซึ่งมีกาลเวลา ที่เรียกว่าเทศกาลกฐินที่กลายเป็นประเพณีขึ้นซึ่งมีความสำคัญต่อชาวอีสานมากที่ถือว่าเป็นให้อานิสงส์แก่ผู้ทำบุญอย่างมาก เพราะจะได้ ถวายจีวรให้แก่ภิกษุที่ครบไตรมาส
ธันวาคม
1.บุญข้าวกรรมหรือบุญเดือนเจียง ภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสส ต้องอยู่กรรมถึงจะพ้นจากอาบัติ ญาติโยม พ่อออก แม่ออก ผู้อยากได้บุญกุศลก็จะให้ไปทาน รักษาศีลฟังธรรมเกี่ยวกับการเข้ากรรมของภิกษุ เรียกว่า บุญเข้ากรรมกำหนดเอาเดือนเจียงเป็นเวลาทำ จะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ วันที่นิยมทำเป็นส่วนมากคือวันขึ้น 15 ค่ำ2.บุญส่งท้ายปีเก่า ในคืนวันที่ 31 ธันวาคมเป็นวันสิ้นปี จะมีการสวดมนต์ข้ามปี โดยพระภิกษุจะเป็นผู้นำในการปฏิบัติธรรม และช่วงตอนเช้าวันที่ 1 มกราคม จะทำบุญตักบาตรเนื่องในเทศกาลขึ้นปีใหม่ พระภิกษุสามเณรจะเดินเรียงลำดับอาวุโสไปบิณฑบาตตามละแวกบ้าน เมื่อถึงหมู่บ้านที่ชาวบ้านกำลังรออยู่ ก็จะยืนเรียงเป็นแถว หรือการตักบาตรเป็นสังฆทาน
คุณพ่อ สุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย อายุ 70 ปี เป็นบุตรคนที่ 3 มีพี่น้องทั้งหมด 4 คน ดัง
1. นายสุวรรณสิทธิ์ ศิริวิชัย อายุ 76 ปี
2.นายสุวรรณศักดิ์ ศิริวิชัย อายุ 70ปี
3.เด็กหญิง เพ็ญประภา ศิริวิชัย เสียชีวิต อายุ 3ปี
4.นายสุระพงศ์ ศิริวิชัย
ณศักดิ์ ศิริวิชัย เกิดวันที่ 02 มีนาคม พ.ศ.2595 เกิดที่บ้านโนนสง่า หมู่ที่ 16 อำเภ
หวัดขอนแก่น เมื่อพ.ศ 2529 ได้สมรสกับนางอุทัย ศิริวิชัย มีบุตร 3 คนดัง
1. นางสาวศิริลักษณ์ อุ่นดอน ปัจจุบันอายุ 38 ปี ทำงานธุรกิจส่วนตัว (ร้านเสริมสวย)
2.นางสาวธิดารัตน์ ศิริวิชัย ปัจจุบันอายุ 36 ปี ทำงานบริษัท
3.นางสาว ธิดาเดือน ศิริวิชัย ว่างงาน
คุณพ่อสุวรรณศักดิ์ มีโรคประจำตัวคือ Stroke
ประวัติการศึกษา
-จบชั้นประถมศึกษาปีที่4 ที่โรงเรียนบ้านหว่า
- จบ ขก 7 ที่ร.ร บ้านหนองเรื่อ
- จบปวช.ที่โรงเรียนวิเคราะห์ศิลป์ จังหวัดขอนแก่น
- จบปวส.ที่เทคนิคศิลปั จังหวัดนครราชสีมา
ประวัติการทำงาน
- เป็นครูสายศิลป์ สอนที่จังหวัดนครราชสีมา
- พ.ศ 2530 ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านโนนสง่ หมู่16 ตำบลกุดกว้าง อำเภอ หนองเรือ จังหวัด
ขอนแก่น
- พ.ศ 2543-2548 ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้าน โนนสง่า หมู่16 ตำบลกุดกว้าง อำเภอ หนองเรือ จังหวัด
ขอนแก่น ได้ตำรงตำแหน่ง 6 ปี
- พ.ศ.2543 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาการฝึกอบรม ตามหลักสูตรการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
(อปพร.) รุ่น 679
- ได้ผ่านการอบรมตามโครงการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและกระบวนการยุติธรรมเบื่อง
ต้นสำหรับประชาชน
-ได้เข้าร่วมการฝึกอบรมอาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้าน (อพปม.) และได้รับการแต่งตั้งพัฒนาปศุสัตว์
ประจำหมู่บ้าน
- พ.ศ 2549 ได้เลือกตั้งเป็นอาสาสมัครสาธารณะประจำหมู่บ้าน อสม.โนนสง่า
- พ.ศ.2564 ได้เลือกตั้งเป็นประธาน
อาสาสาธารณะประจำหมู่บ้าน อสม.ประจำหมู่บ้าน
คติประจำใจ
ซื่อสัตย์ อยู่ร่วมกันเป็นพี่น้อง ทำให้ครอบครัวอบอุ่น
ความภูมิใจ
ภูมิใจที่ได้รับการแต่งตั้งและเลือกตั้งให้ทำหน้าที่ต่างๆในการเป็นผู้นำชุมชน ได้เสียสละเพื่อส่วนรวมทำคุณประโยชน์แก่ชุมชน รู้สึกภูมิใจที่สมาชิกในชุมชนไว้วางใจ มีความเชื่อมั่น ให้เป็นผู้นำในหลายๆอย่างภูมิใจในตนเองและมีความรู้สึกปลาบปลื้มใจที่สมาชิกในครอบครัวก็ภูมิใจในตัวของตัวเองเช่นกัน ที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดี เปลี่ยนแปลงตัวเองไปในทางที่ดีขึ้น พัฒนาตัวเองอยู่เสมอ เป็นหัวหน้าครอบครัวที่อบอุ่น ทำหน้าที่ได้สมบูรณ์เป็นที่รักใคร่ของลูกหลาน การได้ ทำสิ่งใหม่ๆ ที่ไม่เคยได้ทำ ทำให้มีประสบการณ์ที่หลากหลาย และแตกต่างกันรู้สึกว่าตัวเองได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบัน และตั้งใจว่าจะเรียนรู้ตลอดชีวิต
วัด มีวัด ในหมู่บ้าน จำนวน 3 วัด
วัดโนนชัยวนาราม วัดโพธิ์ บ้านโนนทัน ที่พักสงฆ์ป่าช้าบ้านโนนสง่าหมู่ที่ 9
ประชาชนบ้านโนนสง่าใช้ภาษาถิ่นอีสานในการสื่อสารในชุมชน และใช้ภาษากลาง ภาษาไทยในการติอต่อสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนที่ปรากฏเห็นชัดเจนในด้านประชากรโดยมีรายละเอียดดังนี้ การเปลี่ยนแปลงของสังคมไปสู่ความทันสมัย ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม คนในชุมชนมีการสร้างบ้านแบบสมัยใหม่ที่ไม่เอื้อต่อการแบ่งแยกพื้นที่ระหว่างผีกับคน หรือระบบความติดของคนรุ่นใหม่ในสังคม ส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย เนื่องจากอิทธิพลของระบบสื่อในมิติต่างๆ ที่มีความรวดเร็วเชื่อมโยงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อของทั้งคนรุ่นเก่าและใหม่ กระกอบกับอิทธิพลทางการศึกษาสมัยใหม่ที่สอนให้คนเชื่อในหลักการวิทยาศาสตร์ ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางความคิดและความเชื่อ
บ้านโนนสง่ามีร้านอาหารร้านไก่ย่างไดโนเสาร์
จากการสำรวจข้อมูลของนักศึกษาจากวิทยาลัยบรมราชชนนี ขอนแก่น