-
"บ่อเกลือสินเธาว์ภูเขา หนึ่งเดียวในโลก" ชุมชนขนาดใหญ่แวดล้อมด้วยธรรมชาติที่งดงาม แหล่งบ่อเกลือโบราณที่มีอายุหลายร้อยปี ทรัพยากรธรรมชาติสำคัญที่สร้างชื่อเสียงและสร้างรายได้ให้กับชุมชน
-
บ้านโป่งน้ำร้อนอยู่ท่ามกลางขุนเขา น้ำตก และบ่อน้ำแร่ร้อน จึงดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ดี ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ที่อาศัยอยู่กับป่าอย่างเรียบง่าย ขณะเดียวกันมีต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีอาหารจากธรรมชาติปลอดสารพิษ และวัฒธรรมวิถีชีวิตแบบชาวปกาเกอะญอ รวมถึงผลิตภัณฑ์ชุมชนที่พัฒนาจากวิถีชีวิตของชาวบ้าน เช่น การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ งานจักสานจากไม้ไผ่ และกล้วยกรอบน้ำแร่
-
กระดาษสาบ้านต้นเปา ชุมชนเก่าแก่กับมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ นำมาสู่การสร้างงานสร้างอาชีพ พัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชน จนเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
-
ชุมชนกึ่งเมืองตั้งอยู่ระหว่างรอยต่อ สามารถเดินทางไปมาสะดวก พื้นที่ติดริมแม่น้ำและถนนสายหลัก มีวัดพระนอนขอนตาลและศูนย์รักษามะเร็งใกล้บริเวณชุมชน
-
“ต้นผึ้ง” ไม่ใช่เป็นชื่อของต้นไม้ แต่เป็นต้นไม้ลุงขนาดใหญ่ เป็นไม้ประเภทเดียวกับไม้ไฮ แต่มีผึ้งมาทำรังเป็นจำนวนมาก มีผู้บอกเล่าว่าบางต้นเป็นต้นไทร เมื่อมีผึ้งมาทำรังจำนวนมากเป็นร้อย ๆ รัง ชาวบ้านจึงเรียกว่า ต้นผึ้ง
-
ชุมชนผลิตทองคำเปลวเก่าแก่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 นับว่าเป็นแหล่งการค้าทองคำเปลว และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในอดีต อีกทั้งยังเป็นชุมชนที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในด้านการทำทองของกรุงเทพมหานคร
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีการตั้งถิ่นฐานมานานหลายร้อยปี แหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงวัฒนธรรม ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรไทย และชีวิตสังคมเมือง
-
ชุมชนของชาวยองบ้านศรีเมืองยู้ มีประวัติศาสตร์ของชุมชนที่ยาวนาน และยังคงปรับตัวให้เข้ากับโลกปัจจุบัน อีกทั้งยังมีวิถีชีวิตที่หลากหลาย
-
-
ชุมชนตลาดเมืองราชบุรี เป็นชุมชนที่มีการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ครั้งอดีต ภายในชุมชนมีสถานที่ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ สะพานรถไฟจุฬาลงกรณ์ ซึ่งเป็นสะพานรถไฟที่ได้รับพระราชทานชื่อจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสะพานรถไฟที่ถูกใช้งานในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2