-
บ้านฮูยงบาโร๊ะ ชุมชนชาวไทยมุสลิมที่ยังคงรักษาขนบ ค่านิยม และปฏิบัติตามหลักทางศาสนาอย่างเข้มงวด ซึ่งสะท้อนให้เห็นผ่านการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามปกิทินอิสลามที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกเดือน
-
-
ชุมชนเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อยังชีพและการค้า เป็นชุมชนที่เด่นด้านการทำข้าวแคบ ผ้าทอไตลื้อลายขะแจ๋หลงตู้ สานน้ำถุ้ง ทำตุ๊กตาไตลื้อ
-
บ้านหนองตาเถร เป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีลาวครั่งด้านภูมิปัญญา "นมัสการหลวงพ่อเกสร พักผ่อนหนองตาเถร วัฒนธรรมงามเด่นลาวครั่ง"
-
-
ชุมชนบ้านเกาะสวาดมีการตั้งวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผลิตภัณฑ์หญ้าแฝกบ้านเกาะสวาด โดยมีผลิตภัณฑ์ที่จักสานจากหญ้าแฝกออกมาจำหน่าย และเป็นหมู่บ้านตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
-
ชุมชนที่ยังคงยึดมั่นในการอนุรักษ์ชุมชนและวัฒนธรรมประเพณีชาวมอญ เช่น การรำผีเม็ง(มอญ) ประเพณีลอยอะมด(ลอยกระทง)
-
บนถนนหมายเลข 1256 ปัว-บ่อเกลือ บ้านน้ำแพะ ชุมชนแห่งนี้ยังคงปรากฏสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเรือนลัวะโบราณ กับการดำรงลักษณะของที่อยู่อาศัยในอดีตที่สามารถประยุกต์รูปทรงผสมผสานให้เหมาะสมกับการใช้สอยในปัจจุบัน และยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์เฉพาะตัวอันโดดเด่นของลัวะปรัย
-
-
ชุมชนที่มีต้นไม้ใหญ่ ไม้หายาก และสัตว์นานาชนิด ประชาชนมีกฎระเบียบในการดำเนินป่าชุมชนอย่างยั่งยืน เป็นต้นแบบของชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
-
ประชากรในชุมชนมาจากหลายพื้นที่ไม่ได้มีลักษณะเป็นชาติพันธุ์เดียวกันและไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ เหมือนกับชุมชนอื่น ๆ ชาวบ้านจึงมีทั้งคนไทย คนไทยเชื้อสายจีน และคนไทยเชื้อสายลาว การตั้งบ้านเรือนจึงตั้งตามกลุ่มที่อพยพเข้ามาโดยมีการตั้งชื่อเป็นคุ้มต่าง ๆ อยู่ด้วยกันอย่างสันติ
-
วิถีชีวิตปกากะญอผ่านการสร้างพื้นที่ของตนท่ามกลางธรรมชาติ ด้วยการทำเกษตรกรรมแบบไร่หมุนเวียนเพื่อเศรษฐกิจและการยังชีพ