-
วิถีของชาวไทใหญ่ที่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากประเทศพม่า ประเพณี 12 เดือน พระพุทธรูปแบบล้านนา
-
-
การขยายตัวของชุมชนเมืองขนาดใหญ่ และพัฒนาการทางสังคมจนเกิดเป็นชุมชนใหม่ใจกลางเมืองสงขลา
-
ชุมชนตั้งระหว่าง 2 จังหวัด คั่นด้วยคลอง พื้นที่โดยส่วนใหญ่ทำการเกษตร ถือเป็นพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพฯ ยังคงดำรงรักษาวิถีชีวิต และประเพณีมอญอย่างเคร่งครัด
-
ชุมชนเก่าแก่คู่เมืองสงขลา กับเรื่องราวประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และพัฒนาการทางสังคมในพื้นที่ชุมชนใจกลางเมือง และวัดสำคัญโดยรอบชุมชน
-
ชุมชนไทเขินต้นแหนหลวงมีการอนุรักษ์สืบสานการแต่งกายด้วยชุดไทเขินทั้งผู้ชายและผู้หญิง พูดภาษาไทเขินในการสื่อสารกันในชุมชน ประกอบอาชีพทำเกษตรปลูกลำไยและพืชผักสวนครัว ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
-
ชุมชนชาวมุสลิมที่มีประวัติศาสตร์เคลื่อนย้ายมาจากภาคใต้ก่อนที่จะมีการสร้างชุมชนและสร้างมัสยิดเพื่อเป็นศูนย์กลางของชุมชนที่มีอายุมาอย่างยาวนานมากกว่า 200 ปี
-
บ้านบ่อมอญ-บ่อพราหมณ์ เป็นชุมชนที่สืบสานพิธีกรรมงานปีผีมด พิธีกรรมที่สะท้อนระบบความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติภายในชุมชน นอกจากนี้การประกอบพิธีกรรมนำไปสู่การสร้างความมั่นคงทางจิตใจแก่บุคคล สร้างสำนึกความเป็นกลุ่ม สร้างระบบการควบคุมทางสังคม สร้างความร่วมมือและสร้างเครือข่ายให้แก่ชุมชน การสืบสานพิธีกรรมของชุมชน ทำให้ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมระดับชาติ ปี พ.ศ. 2566