Advance search

ชุมชนชาติพันธุ์
แสดง 661 ถึง 672 จาก 763 ผลลัพธ์
|
  • อุบลราชธานี

    ประชากรในชุมชนมาจากหลายพื้นที่ไม่ได้มีลักษณะเป็นชาติพันธุ์เดียวกันและไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ เหมือนกับชุมชนอื่น ๆ ชาวบ้านจึงมีทั้งคนไทย คนไทยเชื้อสายจีน และคนไทยเชื้อสายลาว การตั้งบ้านเรือนจึงตั้งตามกลุ่มที่อพยพเข้ามาโดยมีการตั้งชื่อเป็นคุ้มต่าง ๆ อยู่ด้วยกันอย่างสันติ

    อีสาน, พลาญข่อย, แหลมทอง

    อ่านต่อ
  • แม่ฮ่องสอน

    มีการจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ซึ่งบ้านนาปลาจาดให้ความสำคัญในด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยได้กำหนดการดูแลและกำหนดขอบเขตป่าชุมชนไว้อย่างชัดเจน มีเขตอนุรักษ์พันธุ์ปลา อนุรักษ์พันธุ์เขียดแลว กิจกรรมบวชป่าชุมชน ทำฝายชะลอน้ำ บวชป่า บวชปลา กิจกรรมปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่าง ๆ

    จักสาน, ไทใหญ่, ชุมชนชาติพันธุ์

    อ่านต่อ
  • แม่ฮ่องสอน

    ชุมชนชาวปกาเกอะญอที่มีอายุมากว่า 200 ปี มีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์และสวยงาม

    แม่ฮ่องสอน, แม่ลาน้อย, ห้วยหมากหนุน

    อ่านต่อ
  • พะเยา

    กลุ่มชาติพันธ์ลัวะที่อาศัยอยู่ที่หย่อมบ้านถิ่นไทย เป็นหย่อมบ้านหนึ่งของบ้านน้ำเปื๋อย หมู่ที่ 6 ตำบลเชียงแรง อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

    ชาตพันธ์ลัวะ, ด่านบ้านฮวก, พรหมแดนไทยลาว, ลำน้ำเปื๋อย, ลำน้ำแม่ลาว, ประตูสู่อินโดจีน

    อ่านต่อ
  • แม่ฮ่องสอน

    ชุมชนเป็นระเบียบสะอาดตา ล้อมรอบด้วยป่าไม้ และลำน้ำที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อน

    ใบลาน, ป่าชุมชน, ปะโอ, แห่โคมไฟประทีป

    อ่านต่อ
  • เชียงใหม่

    บ้านห้วยนกกก อันนามกำเนิดจากลำห้วย แวดล้อมไปด้วยธรรมชาติ ผสานวัฒนธรรมลาหู่

    ลาหู่แดง, ประเพณีกินวอ, ประเพณีกินข้าวใหม่, บ้านห้วยนกกก

    อ่านต่อ
  • แม่ฮ่องสอน

    ชุมชนชาวปกาเกอะญอที่มีทรัพยากรธรรมอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งท่องเที่ยว เช่น ถ้ำป่าหวาย ไม้มงคล น้ำออกรู น้ำตก รวมถึงยังมีรักษาวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้

    แม่ฮ่องสอน, ห้วยปูลิง, บ้านน้ำฮูหายใจ, ถ้ำน้ำฮูหายใจ

    อ่านต่อ
  • เชียงราย

    ชุมชนชาวอิ้วเมี่ยน เชี่ยวชาญด้านการทำเครื่องเงิน ลายปักอิ้วเมี่ยน และผ้าย้อมครามที่โดดเด่น

    เมี่ยน, เครื่องเงิน, อิ้วเมี่ยน

    อ่านต่อ
  • น่าน

    บ้านพี่น้องชาติพันธุ์ขมุ ชีวิตผูกพันกับผืนป่า สืบทอดประเพณีดั้งเดิม หุงเหล้าแบบชาวขมุ

    ป่าชุมชน, ขมุ, การเลี้ยงผี

    อ่านต่อ
  • เชียงราย

    ชุมชนชาติพันธุ์ลีซูที่อาศัยอยู่ในพื้นบนดอยที่อยู่ใกล้พื้นที่ตัวเมืองเชียงราย มีวิวทิวทัศน์ที่สวยงามและเหมาะสมกับการท่องเที่ยว อีกทั้งยังได้เรียนรู้ถึงประเพณีและวัฒนธรรมชาติชาติพันธุ์ได้ภายในชุมชน

    ลีซู, แผนที่เดินดิน, นิทาน, นักมานุษยวิทยา

    อ่านต่อ
  • เชียงราย

    ชุมชนไตหย่าที่ยังคงรักษาอัตลักษณ์วัฒนธรรมของไตหย่าไว้อย่างชัดเจน เป็นที่รู้จักของบุคคลภายนอกที่เข้ามาศึกษาดูงานและเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไตหย่า และมีตัวแทนชาวไตหย่าออกไปร่วมกิจกรรมทางสังคมกับหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนอยู่เสมอ 

    ไตหย่า, คริสตจักร, เชียงราย, คริสเตียน

    อ่านต่อ
  • อุทัยธานี

    ชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็นได้รับการประกาศเป็น “พื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรมพิเศษ” โดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการฟืนฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง ตามมติคณะรัฐมนตรี 3 สิงหาคม 2553ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็นมี “ลำห้วยพุเม้ยง์” ซึ่งเป็นเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชาวกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็นมายาวนานกว่า 400 ปี เป็นแหล่งน้ำในการอุปโภคบริโภค แหล่งน้ำในการทำการเกษตร และเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติของชุมชนในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็นมีต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นอยู่เป็นกลุ่ม มีจำนวน 5 ต้น ชื่อว่า “ต้นสมพงษ์” แต่ละต้นมีอายุกว่า 100 ปี เป็นศูนย์รวมความเชื่อความศรัทธาทางจิตวิญญาณของคนที่อยู่กับป่า แต่เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง เมื่อเดือน เมษายน 2566 เกิดลมพายุพัดผ่านชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็นอย่างรุนแรง ส่งผลให้ต้นสมพงษ์ขนาดใหญ่ทั้ง 5 ต้น ล้มทั้งยืน บางต้นล้มแบบหัก ขาดครึ่งกลางลำต้นลงมา จากนี้ไปคงเหลือเพียงชื่อที่เป็นตำนานเท่านั้นในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็น เป็นแหล่งรวมอารยธรรมกะเหรี่ยงโปว์ทางด้านจิตวิญญาณและความเชื่อ ด้วยเหตุผลที่ว่า ในชุมชนแห่งนี้ในปัจจุบันมีเจ้าวัด (ผู้นำแห่งจิตวิญญาณ) ถึง 3 คน คือ เจ้าวัดผู้ชาย 2 คน ผู้นำจิตวิญญาณที่เป็นผู้หญิง (แม่ย่า) อีก 1 คน ในทุก ๆ ปี จะมีพิธีการไหว้เจดีย์ถึง 3 ครั้ง ได้แก่ การไหว้เจดีย์ในเดือน 3 เดือน 5 และเดือน 7 ซึ่งถือว่าเป็นปรากฏการณ์ที่ยิ่งใหญ่และน่าเหลือเชื่อมาก เพราะชุมชนกะเหรี่ยงส่วนใหญ่ไม่มีเจ้าวัดกันแล้วชุมชนกะเหรี่ยงบ้านภูเหม็นเห็นถึงความสำคัญของการทำไร่หมุนเวียน จึงพยายามรื้อฟื้นวิถีการทำไร่หมุนเวียนให้กลับคืนมาดังเช่นในอดีต แต่พื้นที่สำหรับการทำไร่หมุนเวียนนั้นอาจจะน้อยลง เพราะปัจจุบันทุกคนมีพื้นที่จำกัด และการพักฟื้นหน้าดินหลังจากการทำไร่หมุนเวียนก็คงจะไม่นานถึง 7 – 8 ปี ดังเช่นในอดีต อาจจะเป็นการหมุนเวียนระหว่างการปลูกข้าวไร่กับพืชชนิดอื่นแทนการทิ้งร้างของพื้นที่ทำไร่หมุนเวียน 

    กลุ่มผ้าทอกะเหรี่ยง, พิธีค้ำต้นไทร, เจ้าวัด, ป่าสงวนแห่งชาติ

    อ่านต่อ