Advance search

แสดง 1,471 ถึง 1,480 จาก 2,004 ผลลัพธ์
|
บ้านเปียงหลวง

เชียงใหม่ | พืชเศรษฐกิจ, ชุมชนบ้านเปียงหลวง, ปอยส่างลอง, เปียงหลวง

บ้านเปียงหลวง ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่แถบพื้นที่ชายแดนกับปัญหาความขัดแย้งสู่การอพยพเข้ามายังประเทศไทย และการเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่ยังคงวิถีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิม

อ่านต่อ

บ้านนาทราย

เพชรบูรณ์ | ภาษาหล่ม, ศิลปะล้านช้าง, ผีเจ้าพ่อ เจ้าแม่

บ้านนาทราย หมู่บ้านที่ได้รับคัดเลือกเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรมเข้มแข็งจากความพยายามในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของบรรพบุรุษชาวล้านช้างที่สร้างไว้ให้ลูกหลาน สะท้อนผ่านการประกอบพิธีกรรมและดังที่ปรากฏเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังและสถาปัตยกรรมโบราณภายในวัดนาทราย 

อ่านต่อ

บ้านห้วยกร้าง

พังงา | สารทเดือนสิบ, การตีเหล็ก, ปลากร้าง, ฝ่ายชะลอน้ำ

ชุมชนขนาดเล็ก ที่มีอาณาเขตติดต่อกับบ้านตลาดท้ายเหมือง

อ่านต่อ

ตลาดใต้-บ้านกลาง

สงขลา | ชาวไทยมุสลิม, อิสลาม, ปริก, น้ำพริกแห้ง, ขนมไทย

อดีตชุมทางเกวียนที่สำคัญของอำเภอสะเดา เป็นถิ่นฐานของบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เป็นผู้นำของตำบลปริกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนพิทักษ์ ขุนดำรง ขุนภิรมย์ ณ ปริกคาม (นายหมาด ยีขุน)

อ่านต่อ

บ้านทับตะวัน

พังงา | มอแกลน, ศูนย์วัฒนธรรมชาวเลมอแกลน, ทับตะวัน

บ้านทับตะวัน ชุมชนชาวเล กลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน กับวิถีชีวิตชาวประมง ภูมิปัญญาการหาปลาในทะเล และประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์

อ่านต่อ

บ้านร่องปลาขาว

เชียงราย | ร่องปลาขาว, เชียงราย, ห้วยสัก

ก่อตั้งหมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ. 2500 มีศาสนสถาน โบราณสถาน คือ วัด โรงเรียน ศาลพ่อบ้าน และศาลาใจบ้าน เป็นที่เคารพนับถือ

อ่านต่อ

บ้านแม่ใจปง

พะเยา | พิพิธภัณฑ์ชุมชน, ปีใหม่เมือง, วัดศรีสุพรรณ

ชุมชนบ้านแม่ใจและชุมชนบริเวณใกล้เคียงรวมถึงวัดศรีสุพรรณ ร่วมกันจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ของชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติของชุมชนด้านศาสนา โดยตั้งอยู่ที่วัดศรีสุพรรณและใช้ชื่อว่าพิพิธภัณฑ์วัดศรีสุพรรณ

อ่านต่อ

เมืองใหม่พัฒนา

สงขลา | เมืองใหม่พัฒนา, ชุมชนเมืองใหม่พัฒนา, เรือพระวัดโรงวาส, วัดโรงวาส

การเข้ามาของผู้คนต่างถิ่นในจังหวัดสงขลา สู่การพัฒนาเป็นชุมชนใหม่

อ่านต่อ

บ้านท่าแขก

ชัยนาท | บ้านท่าแขก, จักรสานบ้านท่าแขก, ผ้าชีครอบลายดอกพิกุลจากบ้านท่าแขก

ชุมชนเกษตรกรรมจากสภาพแวดล้อมที่ตั้ง จนก่อให้เกิดการรังสรรค์งานหัตถกรรมจักสานเครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่สีสุกอันมีเป็นจำนวนมากในพื้นที่ชุมชน

อ่านต่อ

บ้านป่าคานอก

เชียงใหม่ | การทอผ้า, ปกาเกอะญอ, เกษตรกรรม, การนับถือผี

เคยเป็นพื้นที่ของชาวลัวะมาก่อน ต่อมามีการเคลื่อนย้ายกลุ่มคนและเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่โดยกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ มีการอยู่อาศัยและทำกินบนพื้นที่แห่งนี้มากกว่าร้อยปี เดิมเป็นหย่อมบ้านที่ขึ้นกับหมู่ที่ 6 บ้านแม่ลานคำ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงได้ทำการแยกเป็นหมู่บ้านป่านอก หมู่ที่ 11

อ่านต่อ