Advance search

สตูล
แสดง 1 ถึง 10 จาก 23 ผลลัพธ์
|
เกาะหลีเป๊ะ

สตูล | ไซ, ลอยเรือ, อูรักลาโว้ย

เกาะหลีเป๊ะเป็นเกาะที่มีปะการังจำนวนมาก โดยเอกลักษณ์ของปะการังที่เกาหลีเป๊ะ เมื่อน้ำลดจะปรากฏลานกว้างใหญ่ของหมู่ปะการังโผล่มาให้เห็น

อ่านต่อ

เกาะสาหร่าย

สตูล | หน้าร้าน, ศาลโต๊ะกิ่ง, หัวแหลม

ชุมชนขนาดเล็กบนพื้นที่ทะเลอันดามัน แต่เต็มไปด้วยความสงบงามและคุณค่าของวิถีชีวิตอันยิ่งใหญ่ของชาวประมง

อ่านต่อ

บ้านควน

สตูล | ควน, ปอเนาะ, คลองมำบัง

“แหล่งบ้านเรือนโบราณ สืบสานศาสนา งามตาสวนผลไม้ ประชาชนสุขสบายด้วยวิถีพอเพียง”

อ่านต่อ

บ้านโคกพยอม

สตูล | ป่าชายเลน, ลูกโรย, ลิเกบก

บ้านโคกพยอม ชุมชนต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรฟื้นฟูป่าชายเลนให้กลับมาชีวิต เจ้าของรางวัลลูกโลกสีเขียวประจำปี พ.ศ. 2549

อ่านต่อ

เกาะบุโหลน

สตูล | เกาะบุโหลน, 5 เกาะ 1 หิน, บุโละ

หมู่เกาะเกาะบุโหลน ถิ่นพิสุทธิ์แห่งท้องสมุทรอันดามัน หมู่เกาะที่ยังคงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ งดงาม และวิถีชีวิตอันอันเรียบง่าย ดังคำเปรียบเปรยว่าเกาะบุโหลน คือ เกาะสมุยเมื่อ 30 กว่าปีที่แล้ว คือ เกาะพีพีเมื่อ 20 กว่าปีก่อน คือ เกาะหลีเป๊ะที่ย้อนไปเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา

อ่านต่อ

บ้านบุโบย

สตูล | การผูกอวน, แหลมสน, บุโบย

แหล่งเรียนรู้ คู่วัฒนธรรม ตำนานเมืองท่าโบราณ 

อ่านต่อ

บ้านบากันเคย

สตูล | มุสลิม, ป่าชายเลน, เคย, ประมงพื้นบ้าน

บากันเคย หมู่บ้านที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งแปรรูปกะปิที่อร่อยที่สุดในเมืองสตูล ชุมชนชาวเลที่ยังคงวิถีการทำประมงพื้นบ้านด้วยภูมิปัญญา การย่ำกั้ง กรรมวิธีการหากั้งที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชน แหล่งกำเนิดธนาคารกั้งแห่งแรกในประเทศไทย จุดเริ่มต้นนำพาบ้านบากันเคยสู่การเป็นชุมชนท่องเที่ยวอย่างลงตัว 

อ่านต่อ

ปากน้ำ

สตูล | เกาะเขาใหญ่, คลองปากบารา, ปอซอ

ดินแดนเมืองท่าโบราณ แหล่งโบราณสถานเมืองหน้าด่าน 

อ่านต่อ

บ้านควนโพธิ์

สตูล | เมืองท่า, ข้าวฮัลลา, เขาพญาบังสา

ชุมชนเกษตรกรรม ทำนาด้วยวิถีดั้งเดิม หวงแหนในเมล็ดพันธุ์ข้าวพื้นเมือง "ข้าวอัลฮัม" ที่ยังคงมีไว้ให้ลูกหลานได้ กิน อยู่ อย่างพอเพียง

อ่านต่อ

ย่านเมืองเก่าสตูล

สตูล | กลุ่มวัฒนธรรมร่วมสมัย, ย่านเมืองเก่า, ภาษาถิ่น

ย่านเมืองเก่าสตูลเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานอาศัยในพื้นที่เมืองสตูลมาแต่ครั้งอดีต ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันก่อเกิดวิถีชุมชนที่มีลักษณะเฉพาะทั้งด้านอาหาร สถาปัตยกรรม ระบบความสัมพันธ์ของชุมชน เป็นผลมาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับปรนเพื่อการอยู่ร่วมกัน และเพื่อให้เกิดความสมสมัยท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม 

อ่านต่อ