-
-
จากพื้นที่รกร้างว่างเปล่าสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดสงขลา และพื้นที่สาธารณะสำหรับทำกิจกรรมร่วมกันของชุมชน
-
ชุมชนไทยเบิ้งบ้านโคกสระน้อย เป็นชุมชนพหุวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม และอัตลักษณ์พื้นถิ่นของชาวลาวเดิมเข้ากับชาวไทยอีสาน และชาวไทยภาคกลาง
-
โบราณสถานที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของชุมชน คือ วัดช้างค้ำ หรือที่เรียกกันว่า วัดกานโถมกุมกามภิรมณ์ แหล่งกำเหนิดการค้นพบเมืองโบราณเวียงกุมกาม
-
ชุมชนบวรรังษี ปัจจุบันขึ้นชื่อว่าเป็นย่านผลิตทองคำเปลว แต่ในอดีตถือเป็นชุมชนที่อุดมด้วยช่างตีทองสุดยอดฝีมือ
-
ชุมชนที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ซำเรอาศัยอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และมีประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านานอย่าง “การเล่นผีแม่มด”
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปบ้านเสน่ห์พ่องบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับมรดกภูมิปัญญาตำรับยาสมุนไพรสะเนพ่อง และวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ชุมชน
-
หนองเรือตระการ จักสานไม้ไผ่ ไก่ย่างทางพาด ตลาดกะหล่ำ เลิศล้ำเพชรพลอยเจียระไน พระใหญ่ภูเม็งทอง
-
เมืองอีสานแดนล้านนา บ้านท่าขันทอง หมู่บ้านเล็ก ๆ ริมน้ำโขงซึ่งเต็มไปด้วยมนต์เสน่ห์ของวิถีชีวิตแบบ “อีสานล้านนา”
-
หมู่บ้านดวงดีประกอบด้วยโครงสร้างความสัมพันธ์ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองโดยบริบทของชุมชนเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบทมีนายเทียน ภูสด เป็นผู้ใหญ่บ้านและผู้นำชุมชน ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับราชการและค้าขายออกไปทำงานนอกบ้าน มีความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนในชุมชนอย่างดี คนในชุมชนส่วนใหญ่รู้จักมักคุ้น บ้างเป็นเครือญาติ มีการช่วยเหลือกัน