-
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงโนนสวรรค์ วัฒนธรรม หลวงปู่ภูพาน รวมใจ งามผ้าคราม โคนม ออมทรัพย์ ลือไก สมัคคีร่วมใจ สู่วิถีพอเพียง
-
สิ่งแวดล้อมพร้อมทุกอย่าง ห้วยต้นยางป่าชุมชน ราชมงคลมหาวิทยาลัย ชาติพันธุ์ใหญ่ชาวไทเขิน ถิ่นเจริญทางวัฒนธรรม ร่วมหนุนนำความสุขศรี สามัคคีและปรองดอง นามป่าป้องเทศบาล
-
ชุมชนวัฒนธรรมชาวดาระอั้ง หรือดาราอาง ที่เคลื่อนย้ายเข้าสู่ประเทศไทยด้วยเหตุผลทางสงคราม สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและสินค้าหัตถกรรมการทอผ้า
-
บ้านผาหมีได้นำเอาต้นทุนทัศนียภาพโดยรอบหมู่บ้านและวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่ามาประยุกต์ร่วมกับนโยบายการกระจายความเจริญของภาครัฐ พัฒนาปรับเปลี่ยนพื้นที่ชุมชนบ้านผาหมีเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม เปิดรับนักท่องเที่ยวอย่างเต็มรูปแบบ กระทั่งกลายเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวที่ต้องการมาท่องเที่ยวในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
-
ชุมชนการค้าและเศรษฐกิจที่สำคัญมาตั้งแต่อดีต มีการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์เพื่อทำการค้าขาย ผู้คนภายในชุมชนมีการจัดโครงการพัฒนาศิลปวัฒนธรรม บริเวณชุมชนปรากฏสถาปัตยกรรมประเภทเรือนไม้ และมีสถานที่สำคัญ ได้แก่ ศาลเจ้าแม่ล้านโป่ง ศาลเจ้าพ่อกวนอู และวัดคาทอลิกนักบุญยอเซฟ
-
บ้านป่าแป๋ จังหวัดแม่ฮ่องสอน แผ่นดินแห่งความสุขที่เต็มไปด้วยวิถีชีวิตที่เรียบง่ายคู่ธรรมชาติ เป็นจุดเด่นที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวต่างอยากเดินทางมาสัมผัสเพื่อเรียนรู้และท่องเที่ยวในแบบวิถีชุมชนโฮมสเตย์ มนตร์เสน่ห์แห่งธรรมชาติ
-
ชุมชนชาวมอญที่มีประวัติเก่าแก่กว่า 100 ปี เป็นกลุ่มชาวมอญที่ขยายตัวมาจากพระประแดงและสมุทรสาคร มีการดำรงชีวิตตามวิถีชุมชนริมน้ำ และมีประเพณีที่สืบทอดกันมายาวนาน คือ ประเพณีตักบาตรพระร้อย
-
หมู่บ้านห้วยน้ำขาว ชุมชนเข็กน้อย เป็นชุมชนวัฒนธรรมชาวม้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
-
ชุมชนหมู่บ้านของชาวไทดำหรือลาวโซ่งที่มีการตั้งถิ่นฐานมากว่า 100 ปี โดยชุมชนแห่งนี้ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของชาวชาติพันธุ์ไทดำ โดยเฉพาะในด้านวิถีชีวิตที่ยังคงมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนาที่มีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ รวมถึงในด้านวัฒนธรรมที่ยังคงรักษาความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรมไว้ได้อย่างดี เช่น การนับถือผี พิธีกรรมเสนเรือน การเล่นคอน (เทศกาลอิ้นก้อน) การลงข่วง
-
ชุมชนชนบทที่อยู่ในตำบลออนกลาง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างและเป็นเกษตรกรเลี้ยงโคนม ภายใต้โครงการโคนมในพระราชดำริ
-
บ้านคำชะอี เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์การอพยพเข้ามาอยู่อาศัยของชาวผู้ไทดำเป็นเวลากว่า 100 ปี ชาวบ้านในชุมชนยังคงสืบทอดรักษาคติความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณีที่ได้รับมาจากบรรพบุรุษ มีการผสมผสานระหว่างหลักธรรมในศาสนาพุทธกับความเชื่อเรื่องผีดั้งเดิม อันถือเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวผู้ไท