-
ธรรมาสน์เสาเดียว ศาสนวัตถุเชิงสัญลักษณ์ที่มีบทบาทสำคัญในการประกอบประเพณีและพิธีกรรมทางศาสนาของชาวบ้าน และมรดกภูมิปัญญาของชาวผู้ไท
-
"กองม่องทะ" ชุมชนชาวกะเหรี่ยงโปว์ในอำเภอสังขละบุรีที่ดำเนินชีวิตอยู่ด้วยความเรียบง่ายแบบดั้งเดิมทั้งวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม ปลูกผักปลูกข้าว แล้วเก็บเกี่ยวด้วยวิถีความเชื่ออันแสดงถึงเอกลักษณ์และความงดงามในวิถีถิ่นของชุมชน
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอในตำบลห้วยสัตว์ใหญ่ 1 ใน 11 หมู่บ้าน แหล่งปลูกทุเรียนป่าละอู พืชเศรษฐกิจ GI สายพันธุ์พระราชทาน
-
บ้านแม่สาใหม่ ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ม้งกับพื้นที่ตั้งบ้านเรือนท่ามกลางธรรมชาติ และการผลักดันให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและการเกษตร
-
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพัฒนาอาชีพผู้สูงอายุ ผ้าฝ้ายทอมือสามสีที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดลำพูน จากการผสมผสานของเส้นใยฝ้ายหลายสายพันธุ์โดยไม่ผ่านการย้อมสี เพื่อมุ่งเน้นการรักษาและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดมลภาวะที่เกิดจากสารเคมีและน้ำเสียในการฟอกย้อมสี จนได้รับรางวัลผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Green Production ได้มาตรฐานระดับดีเด่น ประจำปี 2565
-
ชุมชนเก่าแก่ของกลุ่มชาติพันธุ์ขมุ บนพื้นที่ทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับการจัดการทรัพยากรและการปลูกกาแฟจนเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชน
-
ชุมชนประวัติศาสตร์เมืองท่าทอง เมืองโบราณเก่าแก่ที่ได้รับเอาศิลปวัฒนธรรมศรีวิชัยมาจากเมืองไชยา แหล่งรวบรวมเรื่องราวประวัติศาสตร์เมืองท่าทองและโบราณวัตถุที่มีคุณค่าสันนิษฐานอายุตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน
-
ชมนาขั้นบันได วิวข้าวดอยผืนใหญ่โอบล้อมด้วยเทือกเขาตระการตา หนึ่งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในโครงการปงผาง escape
-
ชาวผู้ไทบ้านน้อมเกล้ามีพิธีกรรมการรักษาโรคประจำกลุ่มชาติพันธุ์ คือ “พิธีกรรมเหยา” ซึ่งถือเป็นสัญญะทางมโนทัศน์ที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อดั้งเดิมของชาวผู้ไท
-
ชุมชนไตหย่า บ้านน้ำบ่อขาว มีจุดเด่นในด้านการทำนากก และการทำเสื่อกก หรือสาดไตหย่า ซึ่งถือเป็นอาชีพดั้งเดิมของชาวไตหย่านับตั้งแต่ที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย