-
ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของพื้นที่ส่งผลให้ชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ประกอบอาชีพทำนาเกลือ และนากุ้ง รวมทั้งยังมีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพ
-
ชุมชนชานกำแพงเมือง "ป้อมมหากาฬ" เป็นกลุ่มที่อยู่ต่อเนื่องกันมายาวนานมากกว่า 50 ปี โดยเข้ามาผสมผสานกับผู้คนที่อยู่มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นผู้ปลูกเรือนเก่าที่ยังหลงเหลืออยู่ในขณะนี้ มีวัดเทพธิดาราม และวัดราชนัดดาราม เป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและความเชื่อ รวมทั้งมีศาลเจ้าซึ่งสถิตอยู่ที่ป้อมมหากาฬเป็นที่กราบไหว้บูชาของคนในชุมชน
-
สภาพแวดล้อมนเป็นลักษณะเฉพาะที่มีความโดดเด่น ส่งผลให้วิถีการดำเนินชีวิตและการตั้งถิ่นฐานของผู้คนในชุมชน มีความผูกพันกับสายน้ำอย่างใกล้ชิด มีการตั้งบ้านเรือนตามแนวยาว ขนานกับแม่น้ำหรือลำคลอง และปลูกสร้างบ้านเรือนไว้ริมน้ำ การทำสวนยกร่อง เป็นเมืองสามน้ำ
-
ผ้าทอพื้นเมืองโบราณ หมอนขวาน ภาษากลุ่มชาติพันธุ์ ประเพณีกินดอง ประเพณีแห่นางแมวขอฝน เทศกาลสารทเดือนสิบของชาวลาวเวียง
-
วัดเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน สถาปัตยกรรมแบบไทยที่งดงาม และพิพธภัณฑ์เพื่อการศึกษา แหล่งรวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่น่าสนใจ
-
วัดคีรีวัน ชาวไทยเชื้อสายลาวเวียง (ไทยเวียง) หัตถกรรมจักสาน เครื่องจักสานไม้ไผ่ตกแต่งผ้าขาวม้า และอาหารพื้นถิ่น
-
ชุมชนที่มี "วัดทิพพาวาส" เป็นจุดศูนย์กลางที่สำคัญสำหรับคนในชุมชน ทั้งเป็นวัดที่เก่าแก่มีอายุกว่าร้อยปี และมีอุโบสถที่สร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลัง
-
ชุมชนที่ผู้คนส่วนใหญ่มีพื้นเพเป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทราและใกล้เคียง เข้ามาลงหลักปักฐานในเมือง และยึดอาชีพทำเครื่องทองลงหิน
-
ต้นจาน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน ปลูกเรียงรายตั้งแต่ทางเข้าจนสุดทาง พร้อมเบ่งบานในช่วงฤดูร้อน เพื่อคอยย้ำเตือนว่าท่านเดินทางมาถึงหมู่บ้านแล้ว
-
พื้นที่ที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ แหล่งน้ำ บ่อเกลือในชุมชนที่ยึดโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่นที่มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และเป็นแหล่งสร้างรายได้ให้กับชุมชน
-
ชุมชนตลาดการค้าริมน้ำเก่าแก่ที่มีการขายสินค้าสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ภายในชุมชนแห่งนี้จะมีร้านค้าเรือนแถวไม้เก่าแก่เปิดขายสินค้าต่างๆ เช่น อาหาร ของฝาก เสื้อผ้า ให้กับนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ในตลาดยังมีพิพิธภัณฑ์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของบริเวณพื้นที่ชุมชน รวมถึงยังมีห้องชมภาพยนต์ที่เป็นภาพยนต์ที่ถ่ายทำในตลาดแห่งนี้เปิดให้ชมฟรีอีกด้วย ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางการศึกษาวิถีชีวิตแห่งหนึ่งของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา