-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์กับเอกลักษณ์ของพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย ทั้งอาหาร การแต่งกาย และภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นเสน่ห์วิถีชีวิตของผู้คนที่น่าสัมผัส
-
การก่อตัวของชุมชนในพื้นที่ทางการรถไฟ หลังจากหยุดดำเนินการเส้นทางการเดินรถสายหาดใหญ่-สงขลา
-
วัดปิยาราม สร้างโดยเจ้าเมืองเชียงใหม่เป็นเพื่ออุทิศให้โอรส มีพระพุทธรูปในโพรงของต้นไม้ใหญ่ ชาวบ้านเรียกว่า วัดพระเจ้านั่งโกร๋น (นั่งโพรงไม้) ต่อมาทางราชการเวนคืนที่ชาวบ้าน ย้ายชาวบ้านมาอยู่ทางหน้าวัดและเรียกวัดใหม่ว่า วัดป่าแงะ
-
ภายในชุมชนมีโรงเรียนวัดหัวฝาย ซึ่งเปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล จนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภายในชุมชนยังมีวัดหัวฝายซึ่งเป็นสถานที่สำคัญในการทำกิจกรรม และมีกลุ่มอาชีพการทำขิง เป็นผลิตภัณฑ์หมู่บ้าน
-
-
ชุมชนที่มีความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเมืองท่าริมชายฝั่งอันดามัน สถาปัตยกรรมสไตล์ชิโน-โปรตุกีส วัฒนธรรมการแต่งกายแบบบาบ๋า อาหารการกิน ตลอดจนวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของชาวชุมชน
-
ชุมชนบ้านแม่ใจและชุมชนบริเวณใกล้เคียงรวมถึงวัดศรีสุพรรณ ร่วมกันจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ของชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติของชุมชนด้านศาสนา โดยตั้งอยู่ที่วัดศรีสุพรรณและใช้ชื่อว่าพิพิธภัณฑ์วัดศรีสุพรรณ