Advance search

ชุมชนชาติพันธุ์
แสดง 145 ถึง 156 จาก 779 ผลลัพธ์
|
  • แม่ฮ่องสอน

    ศูนย์วัฒนธรรมอนุสรณ์สถานสงครามโลกครั้งที่สอง สถานที่บอกเล่าเรื่องราวตำนานรัก "โกโบริ-อังศุมาลิน" แห่งขุนยวม อีกทั้งยังเป็นอนุสรณ์สถานเก็นรวบรวมเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สงครามมหาเอเชียบูรพาที่เกิดขึ้น ณ เมืองขุนยวม

    ศูนย์วัฒนธรรมอนุสรณ์สถานสงครามโลกครั้งที่ 2, กุ๋นลม, ขุนยวม

    อ่านต่อ
  • พังงา

    ชุมชนริมชายฝั่งทะเลอันดามันที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การอพยพย้ายถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน

    กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ชาวเล, มอแกลน

    อ่านต่อ
  • เชียงใหม่

    วิถีชีวิตของชาวบ้านในลุ่มแม่น้ำแม่แจ่มคือตัวแทนสังคมวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ด้วยว่าชุมชนอยู่ในหุบเขาซึ่งเสมือนกำแพงธรรมชาติกั้นการผสมผสานกับวัฒนธรรมเมือง

    เกษตรกรรม, นาข้าว, ความเชื่อ, ผีบ้านผีเรือน, ทรัพยากรธรรมชาติ, ผีบรรพบุรุษ, ไทยวน

    อ่านต่อ
  • เชียงใหม่

    หนึ่งในชุมชนพื้นที่ส่งเสริมศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม ชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีรายได้เสริมจากหัตถกรรมทอผ้าและผลิตภัณฑ์แปรรูป

    หมอกจ๋าม, ผ้าทอ, แม่น้ำกก

    อ่านต่อ
  • แม่ฮ่องสอน

    เป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีมานานกว่า  200 ปี ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวไทใหญ่ บ้านแม่ละนา ถือเป็นชุมชนท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของแม่ฮ่องสอนที่มีความน่าสนใจ ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถ เยี่ยมชมหมู่บ้าน ชมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทใหญ่ 

    ไทใหญ่, ถ้ำแม่ละนา, แม่ละนา

    อ่านต่อ
  • น่าน

    บ้านเก็ตเป็นแหล่งทอและจำหน่ายผ้าทอไทลื้อที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น นอกจากนี้ ยังมี "วัดภูเก็ต" เป็นสถานที่สำคัญของหมู่บ้าน เดิมตั้งชื่อตามชื่อหมู่ของบ้านที่ชื่อว่าหมู่บ้านเก็ต แต่ด้วยวัดตั้งอยู่บนเนินเขา ซึ่งคนภาคเหนือเรียกว่า ดอยหรือภู จึงได้ตั้งชื่อตามลักษณะที่ตั้งว่า "วัดภูเก็ต" หมายถึง วัดบ้านเก็ตที่อยู่บนภูหรือดอย

    ไทลื้อ, บ้านเก็ต, น่าน

    อ่านต่อ
  • เชียงใหม่

    ศิลปสถาปัตยกรรมล้านนาที่ผสมผสานกับศิลปสถาปัตยกรรมไตลื้อ และวิถีชีวิตของชาวไตลื้ออันเป็นเอกลักษณ์ ทั้งประเพณี ความเชื่อ วัฒนธรรม การแต่งกาย และอาหาร

    ไทลื้อ, ผลิตภัณฑ์ชุมชน, ลวงเหนือ

    อ่านต่อ
  • ชัยภูมิ

    ชุมชนบ้านไร่ เป็นหนึ่งในชุมชนชาติพันธุ์ของชาว “ญัฮกุร” ที่ยังคงแสดงออกซึ่งอัตลักษณ์ เช่น การใช้ภาษาญัฮกุร วัฒนธรรมการกิน การใส่เสื้อพ้อก และการทำสวนสมุนไพร อีกทั้งบ้านไร่ยังเป็นชุมชนที่ได้รับความสนใจเข้ามาศึกษาจากนักวิชาการหลายทศวรรษ ความรู้ทางวิชาการและความเข้มแข็งของชุมชนก่อให้เกิด “กลุ่มเยาวชน” ที่คอยหล่อเลี้ยงอัตลักษณ์ญัฮกุรให้ยังคงอยู่

    ญัฮกุร, ชาวบน, บ้านไร่

    อ่านต่อ
  • สกลนคร

    วิถีการดำเนินชีวิตของชาวโส้ที่ยังคงห่างไกลจากอิทธิพลของวัฒนธรรมจากในเมือง 

    การทอผ้า, เกษตรกรรม, ชาวโส้

    อ่านต่อ
  • แม่ฮ่องสอน

    เที่ยวบ้านละอูบ ชุมชนชาวละว้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย พักโฮมสเตย์ ชิมโต๊ะสะเบื๊อก ชมวิถีชีวิตชุมชนบนยอดดอยสูง สัมผัสวิถีวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะชนเผ่า

    เครื่องเงิน, ผ้าทอละว้า, โอท็อปนวัตวิถี

    อ่านต่อ
  • ภูเก็ต

    "เก็บหอยหาดเลน ชมเรือกายัก แลเอกลักษณ์วิถีชาวเลอูรักลาโวยจแห่งหาดสะปำ"

    กายัก, บาไล ดาโต๊ะ, พิธีกรรมลอยเรือ

    อ่านต่อ
  • สุโขทัย

    ชุมชนปกาเกอะญอ หรือ กะเหรี่ยง บ้านแม่สาน จากคำบอกเล่านายรังแก้ว ค้างคีรี ว่าก่อนปี 2516 มีโจรปล้น ฆ่า ชาวบ้านแม่สาน จึงพากันหอบลูกจูงหลานอพยพหนีภัยไปอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน กระทั้งนายอำเภอลี้ได้สอบถามเรื่องราวและประสานกับนายอำเภอศรีสัชนาลัยสมัยนั้นเพื่อนำชาวบ้านกลับมายังบ้านแม่สาน ราษฎรกะเหรี่ยงที่บ้านแม่สานนั้น นามสกุลเหมือนกันทั้งหมู่บ้าน คือ นามสกุล “ ค้างคีรี ” สอบถามแล้วได้ความว่านายอำเภอผู้หนึ่งตั้งให้ทุกคนในคราวเดียวกัน ผลิตภัณฑ์ชุมชนกะเหรี่ยง- สินค้าชุมชน Organic Riceberry ข้าวไรซ์เบอร์รี่ หอม นุ่ม ปลูกเองธรรมชาติปลอดสารพิษ 100%- กล้วยตาก กล้วยเบรกแตก "เก่อญอ"- เครื่องจักรสานผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น กระติ๊บข้าวเหนียว กระด้ง ชะลอม เป็นต้น- ผ้าทอกี่เอวของชาติพันธ์ปกาเกอะญอ บ้านแม่สาน หมู่ที่ 6 ต.แม่สำ  อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย ซึ่งมีลายที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น กว่า 30 ลาย ผ้าทอกะเหรี่ยงมีลักษณะเป็นลวดลายที่ได้จากการย้อมจากสีธรรมชาติซึ่งชาวกะเหรี่ยงได้มีกลวิธีและการสร้างลวดลายผ้าทอที่ผู้ทอจะยึดให้เป็นรูปแบบลวดลายดั้งเดิมที่เคยทอไว้ในอดีตลวดลายผ้าทอกะเหรี่ยงแบบดั้งเดิมได้ถูกถ่ายทอด มาจากรุ่นบรรพบุรุษ จากการสนทนากลุ่มปราชญ์ชาวบ้านด้านผ้าทอกะเหรี่ยง-สมุนไพรพื้นบ้าน ที่ใช้รักษาโรคภัยไข้เจ็บ การแสดงพื้นบ้าน เช่น การฟ้อนเจิง (รำดาบ) , รำกระด้ง, กาซอ       ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ความเชื่อ ของชาวปกาเกอะญอ             ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของคนกะเหรี่ยงในชุมชน ได้แก่ พิธีการเกิด พิธีงานศพ พิธีแต่งงาน ประเพณีซอเจดีย์ทราย ประเพณีหลังเกี่ยวข้าวและพิธีเกี่ยวกับผี การแต่งกาย         การแต่งกายของปกาเกอะญอบ้านแม่สาน เสื้อเด็กและหญิงสาวจะเป็นชุดทรงกระสอบ ผ้าฝ้ายพื้นขาว ทอหรือปักประดับลวดลายให้งดงาม ส่วนหญิงที่มีครอบครัวแล้วจะสวมเสื้อสีดำ น้ำเงิน และผ้านุ่งสีแดงคนละท่อน ตกแต่งด้วยลูกเดือย หรือทอยกดอก ยกลาย สำหรับผู้ชายกะเหรี่ยงนั้นส่วนมากจะสวมเสื้อตัวยาวถึงสะโพก ตัวเสื้อจะมีการตกแต่งด้วยแถบสีไม่มีการปักประดับเหมือนเสื้อผู้หญิง การแต่งกายของปกาเกอะญอบ้านแม่สาน แบ่งออกไปตามเพศ อายุและสถานะทางสังคมได้แก่ เพศชาย เพศหญิง วัยเด็ก วัยรุ่น-วัยชรา และหญิงที่มีสถานะแต่งงานแล้ว

    ผ้าทอกี่เอว, ข้าวเบอะ, เขาผาช่อ, พิธีเลี้ยงผี

    อ่านต่อ