ตรอกบ้านพานถม
ในอดีตชุมชนแห่งนี้มีการทำพานถม ปัจจุบันไม่มีการทำแล้ว เหลือเพียงคำบอกเล่าและรู้จักบ้านพานถมในฐานะชุมชนที่เคยเป็นแหล่งผลิตเครื่องถมโบราณที่สำคัญแห่งหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์
บ้านนาตะกรุด
วัดโพธิ์ทอง เป็นทั้งศาสนสถานและสถานที่ท่องเที่ยว สามารถแวะเที่ยวชมกำแพงประตูศิลปะขอม และเข้าสักการะหลวงพ่อหินเขียว ที่จะจัดให้มีพิธีสำคัญฉลองในวันวิสาขบูชาของทุก ๆ ปี
บ้านหนองเขียว
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ ทั้งลาหู่ดำและลาหู่แดง ล้วนนับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งหมู่บ้านตั้งอยู่ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองเขียว
วัดดาวดึงษาราม
ชุมชนวัดดาวดึงษาราม เป็นชุมชนที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยธนบุรี โดยมีสถานที่สำคัญทั้งวัดดาวดึงษารามและโรงสุราบางยี่ขันที่อดีตเคยเป็นโรงงานอุตสาหกรรมอยู่ในบริเวณชุมชน
บ้านเลอตอ
บ้านเลอตอ พื้นที่ซึ่งอยู่ห่างไกลจากตัวเมือง จึงมีการการส่งเสริมพัฒนาโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐาน ภายหลังการสร้างศูนย์โครงการหลวงเลอตอและข้อจำกัดที่เกิดจากการประกาศพื้นที่เขตป่าสงวนและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ชุมชนจึงหันมาเพาะปลูกพืชไร่และไม้ยืนต้นแทนการปลูกฝิ่นและการทำไร่หมุนเวียน
วัดช่างเหล็ก
ชุมชนวัดช่างเหล็ก เป็นชุมชนหนึ่งที่ตั้งอยู่ในแขวงคลองชักพระ อยู่บนฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยาไปทางด้านตะวันตกของกรุงเทพมหานคร โดยมีวัดช่างเหล็ก เป็นศูนย์กลางของชุมชนที่เลื่อมใสในพุทธศาสนา
สามัคคีร่วมใจ
ชุมชนสามัคคีร่วมใจ คือหนึ่งในชุมชนริมคลองบางบัว ที่ถูกขุดขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ตลอดสองฝั่งคลอง 9 ชุมชน พบปัญหาการรุกล้ำ จึงได้มีการจัดตั้ง "เครือข่ายพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมคูคลองบัว" เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสร้างความเข้มแข็งในชุมชน
บ้านขอบด้ง
บ้านขอบด้ง หมู่บ้านที่ได้รับการส่งเสริมจากสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ให้ปลูกไม้ผลเมืองหนาว อาทิ สตอเบอรี่ บ๊วย ท้อ ถือเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้ให้กับชาวลาหู่ อีกทั้งยังได้รับการส่งเสริมจากโครงการหัตถกรรมในมูลนิธิของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทำกำไลหญ้าอิบูแค เพื่อจำหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในหมู่บ้าน
มัสยิดบ้านบน
ชุมชนมุสลิมเก่าแก่แห่งเมืองสงขลา ที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมของมัสยิดเป็นเอกลักษณ์ และเมนูท้องถิ่นขึ้นชื่ออย่าง ข้าวมันแกงไก่ ที่ขายมานานกว่า 100 ปี
บ้านนาตะกรุด
บ้านนาตะกรุด หนึ่งในชุมชนเกษตรกรรม ที่ใช้เวลาว่างรวมกลุ่มกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP จนได้รับรางวัลระดับ 4 ดาว