บ้านท่าขอนยาง
จากชุมชนชนบทในอดีตที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ไทญ้อ
การเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชนเมืองจากการเข้ามาของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สร้างความร่ำรวยให้ชาวบ้านที่เป็นเจ้าของที่ดิน
สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนได้ทำงานภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทำให้ ไทญ้อ อนุรักษ์
สร้างอัตลักษณ์เพื่อดำรงอยู่ซึ่งความเป็น ญ้อท่าขอนยาง
ท่าอุเทน
ชุมชนเก่าริมแม่น้ำโขง ที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ มีวัดพระธาตุท่าอุเทนเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน
ภูไทบ้านนางัว
ชุมชนชาวไทยญ้อและชาวภูไท และมีพระธาตุศรีเงินคำที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า
บ้านนากระเดา
ชุมชนหนึ่งเดียวในอำเภอนาคูที่มีประชากรเป็นชาวญ้อและใช้ภาษาสำเนียงเดียวกับอำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
บ้านโพนสวรรค์
ชุมชนชาวญ้อ ผู้คนในชุมชนมีภาษาพูดของตนเองในการสื่อสารระหว่างกัน เรียกว่า ภาษาญ้อ มีวิถีชีวิตผูกพันกับธรรมชาติ มีวิถีวัฒนธรรมตามฮีตสิบสองคองสิบสี่ตามแบบชาวอีสาน
บ้านโพน
ชุมชนอายุกว่า 200 ปี มีอาหารพื้นบ้านอย่าง หมกเจ๊าะปลากรายและปิ้งอั่วปลาที่หาทานได้ยาก
บ้านบะหว้า
"จักจั่นเลิศรส ไข่มดสดอร่อย มีไม่น้อยดอกกระเจียว สีเขียวแหล่งผักหวาน แลตระการเห็ดโคนดิน อุดมถิ่นวัฒนธรรม" นอกจากนี้ บ้านบะหว้าเป็นชุมชนที่มีภาษาพูดเฉพาะถิ่น คือ ภาษาญ้อ