-
สิ่งแวดล้อมพร้อมทุกอย่าง ห้วยต้นยางป่าชุมชน ราชมงคลมหาวิทยาลัย ชาติพันธุ์ใหญ่ชาวไทเขิน ถิ่นเจริญทางวัฒนธรรม ร่วมหนุนนำความสุขศรี สามัคคีและปรองดอง นามป่าป้องเทศบาล
-
ชุมชนวัฒนธรรมชาวดาระอั้ง หรือดาราอาง ที่เคลื่อนย้ายเข้าสู่ประเทศไทยด้วยเหตุผลทางสงคราม สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและสินค้าหัตถกรรมการทอผ้า
-
หมู่บ้านตั้งอยู่บริเวณสันเขา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัยต่อเนื่องจากดอยอินทนนท์ เป็นแหล่งต้นกำเนิดแม่น้ำทิม อยู่หมู่บ้านในความดูแลของโครงการพัฒนาพื้นที่สูงฯ ที่ได้นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับชุมชน
-
บ้านริมออนใต้เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา มีน้ำแม่ออนไหลผ่าน ซึ่งเป็นสายหลักสำคัญของตำบล สภาพภูมิอากาศเย็นสบายในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม
-
บ้านกู่เต้า ชุมชนวัฒนธรรมแหล่งเรียนรู้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์อารยธรรมชาวไทลื้อและชาวล้านนา ซึ่งถูกถ่ายทอดและบอกเล่าผ่านปูชนียสถานเจดีย์บรรจุอัฐิทรงน้ำเต้าคว่ำภายในวัดบ้านกปู่เต้า
-
ชุมชนชนบทที่อยู่ในตำบลออนกลาง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างและเป็นเกษตรกรเลี้ยงโคนม ภายใต้โครงการโคนมในพระราชดำริ
-
ชุมชนวัฒนธรรมชาวไทขึนที่ยังคงธำรงรักษาไว้ซึ่งจารีต ขนบธรรมเนียม และประเพณีของชาวไทขึนผ่านประเพณีและวิถีการดำรงชีวิต ทั้งยังมีพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน สถานที่ที่ซึ่งรวบรวมบอกเล่าเรื่องราวบรรพบุรุษของชาวไทขึนด้วยข้าวของเครื่องใช้และโบราณวัตถุที่จัดแสดงอยู่ภายในพิพิธภัณฑ์
-
“บ้านแม่ปั๋ง” เป็นหมู่บ้านชนบทที่ตั้งอยู่บนเนินดอย มีวัดดอยแม่ปั๋ง หรือวัดหลวงปู่แหวน ซึ่งเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของชาวอำเภอพร้าว ภายในวัดเงียบสงบ มีพื้นที่พักผ่อนจิตใจเหมาะสำหรับการมาปฏิบัติธรรม
-
บ้านขอบด้ง หมู่บ้านที่ได้รับการส่งเสริมจากสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ให้ปลูกไม้ผลเมืองหนาว อาทิ สตอเบอรี่ บ๊วย ท้อ ถือเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้ให้กับชาวลาหู่ อีกทั้งยังได้รับการส่งเสริมจากโครงการหัตถกรรมในมูลนิธิของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทำกำไลหญ้าอิบูแค เพื่อจำหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในหมู่บ้าน
-
วัฒนธรรมที่ผสานความเชื่อที่หลากหลายเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านหนองเต่า
-
วัดป่าตึง วัดที่หลวงปู่หล้าเคยเป็นเจ้าอาวาส จนกระทั่งท่านละสังขารในปี พ.ศ. 2536 หลวงปู่หล้าท่านได้รับสมญานามจากศรัทธาญาติโยมว่ามีญาณวิเศษที่สามารถล่วงรู้เหตุการณ์ข้างหน้าได้ จนชาวบ้านทั่วไปเรียกท่านว่า “หลวงปู่หล้าตาทิพย์”