-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ จากปัญหาโรคระบาดสู่การรับวัฒนธรรมจากการเผยแผ่ศาสนา การเปลี่ยนแปลงความเชื่อและการสร้างชุมชนใหม่
-
บ้านแม่เย็น ชุมชนที่มีพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดการป่าชุมชนเพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของทรัพยากร
-
หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงโปว์ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยวิถีชีวิตค่อนข้างเรียบง่าย
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะบนพื้นที่ภูเขาสูง และมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ พื้นที่ศูนย์การเรียนรู้ชาวไทยภูเขา แม่ฟ้าหลวง กับวิถีชีวิตท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
หมู่บ้านเล็ก ๆ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าน้ำยาวและป่าน้ำสวด ชุมชนชาวลัวะที่ยังคงมีการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมดังเช่นการ "ตีพิ" ประเพณีการเรียกขวัญข้าวออกจากไร่เพื่อนำไปเก็บยังยุ้งฉาง ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญของการทำเกษตรกรรมที่เกี่ยวโยงสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชาวลัวะบ้านน้ำมีดมาอย่างยาวนาน
-
-
หมู่บ้านแม่อีแลบเป็นหมู่บ้านที่มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ คือ ดอยเมี่ยงหรือยอดดอยกึ่งกลางระหว่างหมู่บ้านแม่อีแลบกับบ้านแพมบก และมีแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่งคือ ดอยธง ยอดดอยสูงสุดบริเวณสันเขาแห่งนี้ มีวิว 360 องศา สามารถมองเห็น 2 อำเภอปายและปางมะผ้า วิวธรรมชาติสวยงามอากาศเย็นตลอดทั้งปี มีกฎระเบียบว่าด้วยการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีพิธีกรรมสำคัญชนเผ่าลีซูเกี่ยวข้องกับทรัพยากรป่าไม้ธรรมชาติที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
-
เป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการอยู่อาศัยของชาวปกาเกอะญอ มานานกว่า 300 ปี มีวัฒนธรรมและพิธีกรรมความเชื่อที่มีความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
-
ชุมชนที่อาศัยอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ กับการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชน และวิถีวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงที่เป็นเอกลักษณ์
-
การย้ายถิ่นฐานเข้ามาตั้งบ้านเรือนในพื้นที่ประวัติศาสตร์เก่าแก่ของเมืองเชียงใหม่ มีสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติกับพัฒนาการชุมชนและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
หมู่บ้านอนุรักษ์ผืนป่าอุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก สืบสานประเพณีและวัฒนธรรมชาวลาหู่
-