-
หมู่บ้านที่แยกตัวออกมาจากบ้านบุเปือย เป็นที่ราบสูงสลับกับเนินเตี้ย สภาพดินเป็นดินแดงภูเขาไฟ เหมาะแก่การปลูกพืชทุกชนิด ส่วนวัฒนธรรมในระยะแรกได้รับอิทธิพลจากชาวกูย ก่อนภายหลังได้รับอิทธิพลจากชาวไทยเชื้อสายลาวเข้ามาผสมผสาน และได้กลายเป็นวัฒนธรรมหลักของชุมชนในที่สุด
-
บ้านบางติบ เป็นชุมชนที่สมาชิกในชุมชนร่วมกันบริหารจัดการป่าชายเลน โดยนำคำสอนทางศาสนามาเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
-
ชุมชนที่พึ่งพิงธรรมชาติ ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ในพื้นที่บริเวณนี้นานมากกว่า 250 ปี สันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของบ้านเก๊าเดื่อเป็นชนเผ่า “ลัวะ”
-
ชุมชนที่ประสบความสำเร็จด้านขับเคลื่อนเศรษฐกิจแบบพอเพียงและวิถีด้านการเกษตรกรรม จึงได้รับการยกย่องให้เป็นชุมชนต้นแบบด้านการเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ
-
ชุมชนเก่าแก่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ กับการสืบทอดภูมิปัญญาการตีมีดอรัญญิก อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญและอยู่คู่ชุมชนมานานนับหลายร้อยปี
-
ประติมากรรมงานปั้นพระพุทธชนะมาร ปางมารวิชัยทรงเครื่ององค์ใหญ่ ภายในวัดม่วงสระน้อย สลักโดยฝีมือช่างพื้นบ้าน ตั้งตระหง่านเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาผู้คนบริเวณริมลำน้ำคลองพระเพลิง
-
ประเพณีพิธีกรรมอันเนื่องเกี่ยวกับความตายของคนเขมรถิ่นไทย กับการเล่นตุ้มโมงที่เป็นดนตรีชั้นสูงของชาวบ้านปอยตะแบง
-
-
-
-
หมู่บ้านท่ากกแก เป็นหมู่บ้านที่สมาชิกในหมู่บ้านยังคงร่วมกันสืบสานการจัดงานประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง อย่างไรก็ดีท่ามกลางความเเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน สมาชิกในชุมชนมีการปรับปรนประเพณีเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ได้ อาทิ การใช้เทคโนโลยีหลากหลายมาช่วยในการส่งเสริมให้เกิดการส่งทอดไปยังเยาวชนรุ่นใหม่ในชุมชน รวมถึงการเล่าเรื่องชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ในประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
-