-
ชุมชนชาวมอญที่สืบเชื้อสายจากหมู่บ้านกะมาวัก เมืองมะละแหม่ง ก่อนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ก่อร่างสร้างรากฐานวัฒนธรรมประเพณีฝังลึกในตำบลเจ็ดริ้วกว่า 150 ปี
-
เกาะเหลาหน้านอก ชุมชนที่อยู่อาศัยของชาวมอแกน กลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้ชื่อว่ารักสันโดษเหนือสิ่งอื่นใดด้วยวิถีชีวิตที่ร่อนเร่ในอดีต อีกทั้งยังเป็นชุมชนแหล่งผลิตกะปิเกาะเหลา สุดยอดแห่งกะปิเมืองระนอง ผลิตภัณฑ์สินค้าโอท็อปที่มีชื่อเสียงประจำจังหวัดระนอง
-
บ้านเวียคะดี้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ พ.ศ. 2558 ชุมชนนวัตวิถีแห่งเมืองกาญจนบุรี
-
ตลาดน้ำท่าคาที่ยังคงรักษาไว้ได้อย่างดี คือ การกําหนดเวลาของการมีตลาดน้ำที่เรียกว่า “นัด” หรือการกำหนดวันค้าขายจากน้ำขึ้นน้ำลง โดยในหนึ่งเดือนจะมีนัดอยู่ 6 ครั้ง ได้แก่ วัขึ้น 2 ค่ำ ขึ้น 7 ค่ำ ขึ้น 12 ค่ำ แรม 2 ค่ำ แรม 7 ค่ำ และแรม 12 ค่ำ
-
"ล่องแพ ชมวิวเขาจมป่า ทัศนาป่าชายเลน ตื่นตาอุโมงค์โกงกาง ทะเลแหวกสุดอลัง สิเน่ห์ล้ำเมืองตรัง"
-
หมู่เกาะเกาะบุโหลน ถิ่นพิสุทธิ์แห่งท้องสมุทรอันดามัน หมู่เกาะที่ยังคงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ งดงาม และวิถีชีวิตอันอันเรียบง่าย ดังคำเปรียบเปรยว่าเกาะบุโหลน คือ เกาะสมุยเมื่อ 30 กว่าปีที่แล้ว คือ เกาะพีพีเมื่อ 20 กว่าปีก่อน คือ เกาะหลีเป๊ะที่ย้อนไปเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา
-
-
“ตะกั่วป่า” หรือ “ตะโกลา” ชุมชนที่มีความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเมืองท่าริมชายฝั่งอันดามัน และชุมชนการค้าที่มีความคึกคักในยุคการทำเหมืองแร่ แม้จะผ่านยุคแห่งความรุ่งเรืองมานานแล้ว ทว่า ตะกั่วป่ายังคงไว้ด้วยมนต์เสน่ห์แห่งร่องรอยอดีตอันรุ่งโรจน์ ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมสไตล์ชิโน-โปรตุกีส วัฒนธรรมการแต่งกายแบบบาบ๋า อาหารการกิน ตลอดจนวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของชาวชุมชน
-
รำมะนาติงติงแว่วผะแผ่วเสียง สาดสำเนียงเรียงฝากสทึงสาย ล่องปาจักคืนแดนดินถิ่นพรรณราย ละเลียบชายจากฝั่งสังกาเล
-
ย่านเมืองเก่าสตูลเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานอาศัยในพื้นที่เมืองสตูลมาแต่ครั้งอดีต ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันก่อเกิดวิถีชุมชนที่มีลักษณะเฉพาะทั้งด้านอาหาร สถาปัตยกรรม ระบบความสัมพันธ์ของชุมชน เป็นผลมาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับปรนเพื่อการอยู่ร่วมกัน และเพื่อให้เกิดความสมสมัยท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม