-
วิถีชีวิตของชาวบ้านในลุ่มแม่น้ำแม่แจ่มคือตัวแทนสังคมวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ด้วยว่าชุมชนอยู่ในหุบเขาซึ่งเสมือนกำแพงธรรมชาติกั้นการผสมผสานกับวัฒนธรรมเมือง
-
-
ชุมชนของคนไทยในภาคอีสานที่มีคนญวนอพยพมาจากลาวในช่วงสงครามอินโดจีน มีแบบแผนวัฒนธรรมที่แตกต่างแต่ยังสามารถดำรงชีวิตอยู่ภายใต้สังคมพื้นที่เดียวกัน
-
การสืบทอดประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและประเพณีที่มีมาอย่างยาวนาน โดยที่ต้องรับมือและต่อรองกับอัตลักษณ์อื่นๆเพื่อคงไว้ซึ่งความเป็นไทยพวนของตน
-
ความเชื่อเรื่องผีที่ยังคงสอดแทรกอยู่ในชีวิตประจำวัน การทำนาที่เป็นวิถีชีวิตหลัก และการทอผ้าที่เป็นกิจกรรมเสริมอยู่คู่กับชุมชนมาอย่างยาวนาน
-
ชุมชนที่มีความหลากหลายด้านชาติพันธุ์ อาศัยอนู่รวมกันในพื้นที่สภาพแวดล้อมท่ามกลางธรรมชาติ และเป็นแหล่งโบราณคดีที่สำคัญควรค่าแก่การศึกษาเรียนรู้
-
-
ชุมชนที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นทั้งด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวไทยวนที่ยังคงรักษาวิถีชีวิตดั้งเดิม ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย และงานหัตถกรรม โดยเฉพาะ “ผ้าจกไทยวน” ที่มีลวดลายวิจิตรงดงาม เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน ภายในชุมชนยังมี "กาดวิถีชุมชนคูบัว" ซึ่งเป็นตลาดพื้นบ้านจัดขึ้นในวัดโขลงสุวรรณคีรี ให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับอาหารพื้นเมือง การแสดง และวิถีชีวิตแบบไทยวนอย่างแท้จริง อีกทั้งยังตั้งอยู่ในพื้นที่เมืองโบราณคูบัว ซึ่งเป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญ