-
ภูมิปัญญาของชุมชนที่หลากหลายอันเกิดขึ้นมาจากวิถีชีวิตของคนชุมชนบ้านหาดเสี้ยว มีประเพณีพิธีกรรมที่สืบเนื่องกันมาอย่างยาวนานและหัตถกรรมการทอผ้าที่มีความโดดเด่น
-
ชุมชนชาวมอญที่มีการอพยพเข้ามาอยู่อาศัยในพื้นที่ตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ผู้คนในชุมชนยังคงมีการสืบต่อวัฒนธรรมประเพณีของชาวมอญแบบดั้งเดิมเอาไว้ ได้แก่ การนับถือผี และมีวัดอมรญาติสมาคม หรือวัดมอญ เป็นศาสนสถานสำคัญประจำชุมชน
-
"พระธาตุคู่ดูสง่า น้ำตกแม่สุกงามตา สำเนียงภาษาบอกถิ่น หมู่บ้านแม่คู่แผ่นดิน ลิ้นจี่ดีมีมากมาย หลากหลายผลิตภัณฑ์"
-
ชุมชนชาติพันธุ์ไทดำหรือลาวโซ่ง มีความเชื่อในผีแถนซึ่งเป็นรากฐานของประเพณีและวัฒนธรรมหลายอย่าง มีการทำหัตถกรรมชุมชนที่โดดเด่นและแตกต่าง เรียกว่า การทอผ้ากี่กระตุก
-
การผสมผสานระหว่างความเป็นชาติพันธุ์ การชูจุดเด่นของชุมชนด้วยเกลือสินเธาว์ภูเขา แหล่งต้นน้ำที่สำคัญ อีกทั้งประเพณีและความเชื่อในการต้มเกลือที่หล่อเลี้ยงชาวบ้านมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทำให้บ้านนากึ๋นกลายเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญในจังหวัดน่าน
-
เคยเป็นพื้นที่ของชาวลัวะมาก่อน ต่อมามีการเคลื่อนย้ายกลุ่มคนและเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่โดยกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ มีการอยู่อาศัยและทำกินบนพื้นที่แห่งนี้มากกว่าร้อยปี เดิมเป็นหย่อมบ้านที่ขึ้นกับหมู่ที่ 6 บ้านแม่ลานคำ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงได้ทำการแยกเป็นหมู่บ้านป่านอก หมู่ที่ 11
-
ชุมชนบ้านใหม่สามัคคี มีประเพณีที่สำคัญของชาวลาหู่ ที่สืบทอดมากันอย่างยาวนาน ทำให้ชาวลาหู่เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุที่มียังคงมีประเพณี และวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมมาจนถึงปัจจุบัน