-
-
-
ตำนานพระธาตุเขางัวตอง ลำน้ำแม่จว้าที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนในหมู่บ้านเชื่อว่าไหลออกมาจากสะดืองัวตอง ไหลทั่วหมู่บ้านและเพี้ยนมาเป็นแม่จว้าในปัจจุบัน
-
การส่งเสริมอนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน และสร้างรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ภูมิปัญญาไทย อาทิ ปรัชญาการแพทย์แผนไทย การนวด การพอกตา การแช่มือแช่เท้า การอบตัว การเผายา การตอกเส้น การย่ำขางย่างแคร่ การนั่งถ่านและเข้ากระโจม รักษาโรคต่างๆ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง กลุ่มภูมิแพ้ทางเดินหายใจและผิวหนัง และกลุ่มออฟฟิศซินโดรม โดยโรงพยาบาลชุมชนตำบลดอนแก้ว ได้ดำเนินการให้บริการทั้งแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์แผนไทย ด้วยหลักในการบริหารรงพยาบาลสร้างสุข 3 ดี 4 เสา ได้แก่ บริการดี สิ่งแวดล้อมดี และบริหารจัดการที่ดี ด้วยหลักธรรมมาภิบาลเพื่อให้ตำบลดอนแก้วเป็นตำบลสุขภาวะดี ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา
-
“งดงามวิหารไทลื้อ ลือชื่อผ้าทอสีธรรมชาติ น้ำใสสะอาดวังปาล ผืนป่าเขียวขจี ยึดวิถีวัฒนธรรมไทลือ” ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดน่าน กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประเพณี และการปรับตัวให้เข้ากับสังคมในโลกยุคปัจจุบัน
-
บ้านแม่เตาดิน ชุมชนกับวิถีธรรมชาติที่พึ่งพาอาศัยกันในการดำรงชีวิต ความเงียบสงบท่ามกลางมนเสน่ห์ของกลิ่นไอธรรมชาติ และวัฒนธรรมท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์
-
ชุมชนแห่งนี้เป็นชุมชนจัดสรรที่เป็นหนึ่งในสวัสดิการของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (โรงไฟฟ้าแม่เมาะ) กลายป็นชุมชนใหม่
-
-
-
-
หมู่บ้านนำร่องในโครงการหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนและพัฒนา จนได้รับรางวัลดีเด่น รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ครั้งที่ 7 ประจำปี 2551 ประเภทแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม
-
ศาสนสถานสำคัญของชุมชน "วัดบ้านตุ้มไร่" ที่ได้มีการขุดค้นพบช้างที่ทำด้วยหินบริเวณลานวัดตรงซุ้มประตูทางเข้า ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อวัดใหม่นามว่า "วัดช้างหิน"