-
เดิมเป็นพื้นที่ป่าธรรมชาติไม้เบญจพรรณ แยกออกจากบ้านนาตะกรุด สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นราบ บางส่วนเป็นที่ราบสูงและที่ราบลุ่ม ชาวบ้านมักประกอบอาชีพเกษตรกรรม
-
-
ชุมชนเกษตรกรรมบนพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งตะวันออก) ที่มีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก เห็นได้จากปัจจุบันที่ชุมชนได้กลายเป็นแหล่งสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์จากกล้วยน้ำว้า
-
หัตถกรรมจักสานคู่ชุมชนบางเจ้าฉ่า มรดกวัฒนธรรมภูมิปัญญาเป็นสมบัติอันล้ำค่าของท้องถิ่น สู่การฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจชุมชนสร้างชื่อเสียงและรายได้ให้กับผู้คนในพื้นที่
-
กลุ่มชาติพันธุ์ไทยพวนบ้านหลุมข้าว กับเรื่องราวประวัติศาสตร์ชุมชน และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่เป็นแหล่งเรียนรู้วิถีไทยพวนในอดีต
-
ชุมชนที่มีความหลากหลายด้านชาติพันธุ์ อาศัยอนู่รวมกันในพื้นที่สภาพแวดล้อมท่ามกลางธรรมชาติ และเป็นแหล่งโบราณคดีที่สำคัญควรค่าแก่การศึกษาเรียนรู้
-
หมู่บ้านที่มีความรักความสามัคคี เป็นชุมชนไม่มีมลพิษ วิถีชีวิตชนบท หมู่บ้านพอเพียงต้นแบบ แหล่งเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหมู่บ้าน สามารถส่งน้ำใช้ในการเกษตรได้ทั่วถึง
-
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในลักษณะชุมชนริมแม่น้ำบริเวณริมคลองบางจาก ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำแม่กลอง ซึ่งมีบ้านเรือนไม้ลักษณะเรือนไทยแบบยกพื้นตั้งอยู่บริเวณสองฝั่งคลอง มีทุนทางวัฒนธรรมที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ เช่น วัดช้างเผือก วัดปากคลองมะขามเฒ่า และการจักสานก้านมะพร้าว เป็นต้น
-
-
ชุมชนเกษตรกรรมจากสภาพแวดล้อมที่ตั้ง จนก่อให้เกิดการรังสรรค์งานหัตถกรรมจักสานเครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ไผ่สีสุกอันมีเป็นจำนวนมากในพื้นที่ชุมชน
-
บ้านนาทราย หมู่บ้านที่ได้รับคัดเลือกเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรมเข้มแข็งจากความพยายามในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของบรรพบุรุษชาวล้านช้างที่สร้างไว้ให้ลูกหลาน สะท้อนผ่านการประกอบพิธีกรรมและดังที่ปรากฏเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังและสถาปัตยกรรมโบราณภายในวัดนาทราย