บ้านใคร่นุ่น
ผู้คนในชุมชนสามารถปรับตัวเเละอยู่กับภัยธรรมชาติที่ต้องเผชิญ ทั้งในช่วงฤดูฝนที่น้ำท่วมขังและช่วงหน้าแล้งที่ต้องดูแลพืชผลทางการเกษตร
บ้านโป่งน้ำร้อน
เป็นที่ตั้งขององค์การบริหารส่วนตำบลโป่งน้ำร้อน มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และมีประชากรชาติพันธุ์ไทดำ มีบ้านไม้เก่าชั้นเดียวและสองชั้น
บ้านศาลาดอน
ชุมชนในเขตเมืองทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมืองลำปาง อยู่บนเส้นทางการเดินทางหลักเข้าสู่เมืองและยังเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ของชาวเมืองลำปาง
บ้านยางลาว
ชุมชนชาติพันธุ์ไทดำหรือลาวโซ่ง มีความเชื่อในผีแถนซึ่งเป็นรากฐานของประเพณีและวัฒนธรรมหลายอย่าง มีการทำหัตถกรรมชุมชนที่โดดเด่นและแตกต่าง เรียกว่า การทอผ้ากี่กระตุก
ละอุ่นเหนือ
ละอุ่นเหนือ 1 ตำบล 5 หมู่บ้าน 10 เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ
สถานที่แห่งการรวบรวมถ่ายทอดเรื่องราววิถีชีวิตริมลำคลองละอุ่น
พื้นที่แห่งการจัดการบริหารระบบนิเวศลำคลองจากความเสื่อมโทรมสู่การพลิกฟื้นคืนชีพเศรษฐกิจชุมชน
บ้านสระน้อย
ประติมากรรมงานปั้นพระพุทธชนะมาร ปางมารวิชัยทรงเครื่ององค์ใหญ่ ภายในวัดม่วงสระน้อย สลักโดยฝีมือช่างพื้นบ้าน ตั้งตระหง่านเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาผู้คนบริเวณริมลำน้ำคลองพระเพลิง
บ้านผาแตก
ชุมชนบ้านผาแตก มีภูมิปัญญาในการทอผ้า ทำเสื้อ ผ้าย้อมและทอเอง เป็นภูมิปัญญาที่ตกทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษถึงปัจจุบัน
บ้านท่าบ่อ
ชุมชนท่าบ่อมีความใกล้ชิดกับทรัพยากรลุ่มน้ำสงคราม
ชุมชนมีการจัดการในรูปแบบสิทธิชุมชนที่ได้รับการสืบทอดมาแต่ครั้งโบราณ
เป็นการใช้กระบวนการที่สัมพันธ์กับการใช้ภูมิปัญญาในการใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ