บ้านท่าโป่งแดง
ชุมชนไทใหญ่ที่ยังรักษาอัตลักษณ์ด้านวิถีชีวิต และสามารถปรับตัวรองรับการเข้ามาของนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี
บ้านดู่ใต้
ความเชื่อเรื่องผีที่ยังคงสอดแทรกอยู่ในชีวิตประจำวัน
การทำนาที่เป็นวิถีชีวิตหลัก และการทอผ้าที่เป็นกิจกรรมเสริมอยู่คู่กับชุมชนมาอย่างยาวนาน
บ้านบ่อหลวง
การตีเหล็ก อาชีพหลักที่เคยสำคัญ แม้ปัจจุบันการถลุงแบบโบราณได้สูญหายไปแล้ว แต่ผู้คนบางส่วนก็ยังคงมีความผูกพันอย่างเช่นอดีต
บ้านสันเหมือง
การส่งเสริมอนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน และสร้างรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ภูมิปัญญาไทย อาทิ ปรัชญาการแพทย์แผนไทย การนวด การพอกตา การแช่มือแช่เท้า การอบตัว การเผายา การตอกเส้น การย่ำขางย่างแคร่ การนั่งถ่านและเข้ากระโจม รักษาโรคต่างๆ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง กลุ่มภูมิแพ้ทางเดินหายใจและผิวหนัง และกลุ่มออฟฟิศซินโดรม โดยโรงพยาบาลชุมชนตำบลดอนแก้ว ได้ดำเนินการให้บริการทั้งแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์แผนไทย ด้วยหลักในการบริหารรงพยาบาลสร้างสุข 3 ดี 4 เสา ได้แก่ บริการดี สิ่งแวดล้อมดี และบริหารจัดการที่ดี ด้วยหลักธรรมมาภิบาลเพื่อให้ตำบลดอนแก้วเป็นตำบลสุขภาวะดี ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา
สรรพยา
วิถีชีวิตชุมชนมีความสัมพันธ์กับสายน้ำเจ้าพระยา เป็นชุมชนเข้มแข็งที่มีทุนทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย
หลังวัดอุทัยธาราม
วัดอุทัยธาราม พื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์กับเส้นทางการคมนาคมเมืองสงขลาในอดีต และพัฒนาการทางสังคมและชุมชนท้องถิ่น
บ้านแม่ต๋ำ
จากกลุ่มคนที่เข้ามาอาศัยอยู่ชั่วคราวตามพื้นที่เกษตรกรรม
กลายเป็นชุมชนบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ สู่ศูนย์ศิลปาชีพบ้านแม่ต๋ำพื้นที่พัฒนาศักยภาพชุมชน
บ้านเกาะลำโพง
เดิมเป็นพื้นที่ป่าธรรมชาติไม้เบญจพรรณ แยกออกจากบ้านนาตะกรุด สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นราบ บางส่วนเป็นที่ราบสูงและที่ราบลุ่ม ชาวบ้านมักประกอบอาชีพเกษตรกรรม
บ้านไผ่
ชุมชนคุณธรรม ร่วมสืบสานวัฒณธรรมบุญบั้งไฟ แหล่งค่ายบั้งไฟที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในตำบลกลางใหญ่