Advance search

แสดง 371 ถึง 380 จาก 2,040 ผลลัพธ์
|
บ้านกุสุมาลย์

สกลนคร | ไทโส้, กุสุมาลย์, สกลนคร

ภาษาเเละวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้

อ่านต่อ

บ้านร้องอ้อ

เชียงใหม่ | เชียงใหม่, บ้านร้องอ้อ, เมืองเชียงใหม่, สันผีเสื้อ

หมู่บ้านขนาดใหญ่ ลักษณะพื้นที่เป็นวงรีตามแนวเหนือใต้ มีที่นาแปลงใหญ่อยู่ตรงกลางของหมู่บ้าน ถนนสายใหญ่ผ่านขอบด้านเหนือของหมู่บ้านและแยกตรงเข้าสู่วัดใจกลางชุมชนนี้ ภายในวัดมีพระวิหารที่สวยงามด้วยลวดลายแกะสลักและประดับด้วยแก้วโมเสค หลังคามีหลายชั้นสวยงามตามแบบของภาคเหนือหมู่บ้านนี้มีขนาดใหญ่ รูปลักษณะเป็นวงรีตามแนวเหนือใต้

อ่านต่อ

บ้านโคกล่าม

มหาสารคาม | ผ้าทอ, การทอผ้า, กลุ่มสตรี

บ้านโคกล่ามชุมชนทอผ้าที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ ผ้าย้อมสีธรรมชาติจากไม้มงคลได้รับรางวัลพระราชทาน จากวิถีชีวิตประจำของผู้หญิงอีสานสู่ผ้าทอที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ

อ่านต่อ

บ้านเวินบึก

อุบลราชธานี | ชาวบรู, แม่น้ำโขง

ชุมชนบ้านเวินบึก ประเพณีและพิธีกรรมในวิถีชีวิตเกี่ยวพันความเชื่อท้องถิ่นและวิญญาณบรรพบุรุษ นับถือผีเจ้าหอปู่ตาหรือที่เรียกว่า อะแย๊ะจำนัก

อ่านต่อ

แผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวา

กรุงเทพมหานคร | ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง, ชุมชนคอยรุตตั๊กวา, คลองลำไทร, โฮมสเตย์

ดำรงเอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นเป็นชุมชนสีเขียว เป็นชุมชนต้นแบบหลายอย่าง เช่น มีการใช้หลักศาสนาฟื้นฟูจิตใจ และฟื้นฟูชุมชน น้ำฝนสามารถดื่มได้ และมีการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหม่

อ่านต่อ

วัดจำปา

กรุงเทพมหานคร | การแทงหยวก, ประเพณีชักพระ, เจ้าพ่อจุ้ย, พ่อปู่กุมภกรรณ

ชุมชนที่มีวัดจำปาเป็นศูนย์กลาง มีประเพณีประจำปีที่ต้องห้ามพลาด อย่างประเพณีชักพระ รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นศิลปกรรมบนกาบกล้วยหรือการแทงหยวกกล้วยที่เป็นเอกลักษณ์

อ่านต่อ

ตลาดน้ำวัดตะเคียน

นนทบุรี | ตลาดน้ำวัดตะเคียน, วัดตะเคียน, บางคูเวียง

วัด ชุมชน และวิถีชีวิตของผู้คนกับสายน้ำ มนต์เสน่ห์ริมคลองบางคูเวียง พื้นที่ทางวัฒนธรรมเก่าแก่สู่การพลิกฟื้นเศรษฐกิจชุมชน

อ่านต่อ

บ้านสังกาอู้

กระบี่ | พิธีลอยเรือ, เรือปาจั๊ก, ศาลโต๊ะจันทร์

รำมะนาติงติงแว่วผะแผ่วเสียง สาดสำเนียงเรียงฝากสทึงสาย ล่องปาจักคืนแดนดินถิ่นพรรณราย ละเลียบชายจากฝั่งสังกาเล

อ่านต่อ

บ้านป่าตึง

เชียงใหม่ | ชนบท, เชียงใหม่, สันกำแพง, ออนใต้, บ้านป่าตึง

วัดป่าตึง วัดที่หลวงปู่หล้าเคยเป็นเจ้าอาวาส จนกระทั่งท่านละสังขารในปี พ.ศ. 2536  หลวงปู่หล้าท่านได้รับสมญานามจากศรัทธาญาติโยมว่ามีญาณวิเศษที่สามารถล่วงรู้เหตุการณ์ข้างหน้าได้ จนชาวบ้านทั่วไปเรียกท่านว่า “หลวงปู่หล้าตาทิพย์”

อ่านต่อ