-
ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง หรือ “หมู่บ้านกะเหรี่ยง” ในเขตตำบลสองพี่น้อง ซึ่งในอดีตได้อพยพมาจากชายแดนพม่าและเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ทางฝั่งตะวันออกของอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน
-
หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงที่ยังมีการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นประเพณีความเชื่อต่างๆ และการแต่งกาย
-
ชุมชนชาวกะเหรี่ยงที่อยู่อาศัยร่วมกับชุมชนไทย โดยที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมของตนเองควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนในเชิงตั้งรับกับกระแสโลกาภิวัตน์
-
ชุมชนพหุวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์หลายหลาย และการพัฒนาชุมชนให้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ได้รับความนิยม
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอในตำบลห้วยสัตว์ใหญ่ 1 ใน 11 หมู่บ้าน แหล่งปลูกทุเรียนป่าละอู พืชเศรษฐกิจ GI สายพันธุ์พระราชทาน
-
ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง มีการแสดงรำตงที่เป็นอัตลักษณ์มักใช้เป็นการแสดงต้อนรับผู้มาเยี่ยมเยือน ภายในชุมชนยังมีต้นทุเรียน 200 ปี และแหล่งน้ำสำคัญซึ่งเป็นต้นน้ำแม่กลอง ประกอบด้วยลำน้ำ 5 สาย คือลำห้วยนิคูคุ ลำห้วยตาพะ ลำห้วยทิคูทิ ลำห้วยตาอื้อ และลำห้วยชะแย
-
ระบบการเกษตรแบบไร่หมุนเวียน นอกจากนี้พื้นที่ในชุมชนบ้านขุนแม่เหว่ย ยังแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ พื้นที่ป่าตามความเชื่อ ป่าอนุรักษ์ ป่าใช้ประโยชน์ พื้นที่ป่าตามโครงการของรัฐ
-
บ้านห้วยหินดำ ชุมชนกะเหรี่ยงโปว์เก่าแก่บนพื้นที่ราบสูงในเขตรอยต่อสามจังหวัดและผืนป่าทรัพยากรสำคัญของชาติในเขตอุทยานและป่าสงวน กับวิถีชีวิต วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
เป็นชุมชนชาวไทยและกะเหรี่ยง ซึ่งอพยพจากริมแม่น้ำแควใหญ่เข้ามาอยู่ในพื้นที่บ้านปากนาสวน โดยภายในบริเวณวัดศรีเกษตรารามมีอุโบสถไม้เก่าแก่ที่สร้างด้วยไม้ประดู้ทั้งหลัง
-
ชุมชนชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ ที่มีวิถีพึ่งพิงแหล่งน้ำธรรมชาติ ทั้งใช้ในครัวเรือนและเกษตรกรรม จากลำห้วยหลายสายรวมกันเป็น ลำน้ำห้วยหยวก ไหลผ่านหมู่บ้านตลอดทั้งปี
-
หมู่บ้านวิถีกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ ที่สอดแทรกอยู่ท่ามกลางธรรมชาติอย่าง ถ้ำแสงเพชร หินงอกหินย้อยส่องประกายแสงระยิบระยับ ทั้งยังมีผลิตภัณฑ์ในชุมชน ผ้าทอ เครื่องจักสาน ไม้กวาดคุณภาพดี ที่รออวดโฉมต่อสายตาผู้ชมและผู้มาเยี่ยมเยือน