-
บ้านเรือนส่วนใหญ่ที่อยู่ในรั้วบริเวณเดียวกันจะเป็นเครือญาติกัน ลักษณะบ้านเรือนเป็นสัดส่วน มีการปลูกต้นไม้ พืชผักสวนครัว มีวัฒนธรรมที่ดีในชุมชนโดยมีศาลพ่อปู่เป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ เมื่อมีกิจกรรมต่าง ๆ ประชาชนมักจะมารวมกันที่บริเวณศาลาประชาคมกลางหมู่บ้านติดกับแม่น้ำปิง
-
ย่านชุมชนบ้านโป่ง มีการใช้พื้นที่เมืองในการสร้างพื้นที่ศิลปะสาธารณะในย่านชุมชน ก่อให้เกิดสุนทรียทางศิลปะ และการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว ในรูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในชุมชนย่านบ้านโป่ง
-
ชุมชนไทยพวนบ้านผือ วิถีชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ที่ยังคงเสน่ห์อัตลักษณ์ท้องถิ่น ทั้งวิถีชีวิต ภูมิปัญญา ความเชื่อความศรัทธา มรดกวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าและมีเอกลักษณ์
-
“ต้นผึ้ง” ไม่ใช่เป็นชื่อของต้นไม้ แต่เป็นต้นไม้ลุงขนาดใหญ่ เป็นไม้ประเภทเดียวกับไม้ไฮ แต่มีผึ้งมาทำรังเป็นจำนวนมาก มีผู้บอกเล่าว่าบางต้นเป็นต้นไทร เมื่อมีผึ้งมาทำรังจำนวนมากเป็นร้อย ๆ รัง ชาวบ้านจึงเรียกว่า ต้นผึ้ง
-
ชุมชนกึ่งเมืองตั้งอยู่ระหว่างรอยต่อ สามารถเดินทางไปมาสะดวก พื้นที่ติดริมแม่น้ำและถนนสายหลัก มีวัดพระนอนขอนตาลและศูนย์รักษามะเร็งใกล้บริเวณชุมชน
-
ปากบางตาวา ชุมชนเก่าแก่จากการเข้ามาของกลุ่มชาวประมงจากรัฐกลันตันเพื่อเดินเรือหาปลาบริเวณปากอ่าวน้ำจืดและทางผ่านการเดินเรือในอดีต จนกลายเป็นชุมชนมุสลิมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยของจังหวัดปัตตานี
-
บ้านศรีฐาน ชุมชนที่มีการสืบทอดภูมิปัญญาการทำหมอนขวานผ้าขิด หนึ่งในสุดยอดของฝากจากจังหวัดยโสธร อุตสาหกรรมในครัวเรือนที่มีการพัฒนาลวดลายและรูปแบบจากภูมิปัญญาจนกลายเป็นสินค้าที่สร้างทั้งชื่อเสียงและรายได้ให้แก่ชุมชน
-
ชุมชนของชาวยองบ้านศรีเมืองยู้ มีประวัติศาสตร์ของชุมชนที่ยาวนาน และยังคงปรับตัวให้เข้ากับโลกปัจจุบัน อีกทั้งยังมีวิถีชีวิตที่หลากหลาย
-
ชุมชนตลาดเมืองราชบุรี เป็นชุมชนที่มีการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ครั้งอดีต ภายในชุมชนมีสถานที่ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ สะพานรถไฟจุฬาลงกรณ์ ซึ่งเป็นสะพานรถไฟที่ได้รับพระราชทานชื่อจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสะพานรถไฟที่ถูกใช้งานในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2