-
ชุมชนชาวประมงพื้นบ้าน แหล่งอู่ต่อเรือกอและที่ใหญ่ที่สุดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ อีกทั้งยังเป็นชุมชนประมงที่มีเรือประมงพื้นบ้านมากกว่า 200 ลำ
-
แม่แดดน้อย ชุมชนปกาเกอะญอที่ยืนหยัดหาทางสู้ สร้างทางรอดกับระบบเศรษฐกิจครอบครัวจนเกิดการรวมตัวกลุ่มสตรีด้อยโอกาสก่อตั้งวิสาหกิจชุมชนบ้านแม่แดดน้อยและร่วมกับหมู่บ้านจาก 3 ตำบลในอำเภอกัลยาณิวัฒนา พัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สินค้าจากภูมิปัญญา เชื่อมโยงสายใยแห่งจิตวิญญาณภายใต้ชื่อแบรนด์ "เดปอถู่" แบรนด์สินค้าที่เป็นมากกว่าแค่ผลิตภัณฑ์ หากแต่เป็นตัวแทนเรื่องราวชีวิตของสตรีผู้ด้อยโอกาสชาวปกาเกอะญอ
-
โนราโรงครู ที่ในปัจจุบันหารับชมได้ยาก และภายในชุมชนยังมีผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมาจากสมาชิกภายในชุมชน เช่น การผลิตเตาอั้งโล่ โรงตีมีด
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอในตำบลห้วยสัตว์ใหญ่ 1 ใน 11 หมู่บ้าน แหล่งปลูกทุเรียนป่าละอู พืชเศรษฐกิจ GI สายพันธุ์พระราชทาน
-
บ้านรุ่งอรุณ เป็นชุมชนเกษตรกรรม และชุมชนชาติพันธุ์ของจีนยูนาน มีบ้านเรือนเป็นรูปแบบจีนโบราณ นิยมใช้วัสดุเป็นคอนกรีต โดยมีพื้นที่สำหรับเก็บและตากผลผลิตจากพืชไร่ และมีเรือนเก่าบางส่วนที่มีการผสมผสานรูปแบบสถาปัตยกรรมของชาวไทยใหญ่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
-
-
บ้านนาหลวง หนึ่งในพื้นที่แหล่งกำเนิดข้าวสายพันธุ์หอมไชยา ซึ่งเป็นข้าวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในเมืองไชยา
-
-
ชาวผู้ไทบ้านน้อมเกล้ามีพิธีกรรมการรักษาโรคประจำกลุ่มชาติพันธุ์ คือ “พิธีกรรมเหยา” ซึ่งถือเป็นสัญญะทางมโนทัศน์ที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อดั้งเดิมของชาวผู้ไท
-
หนองเรือตระการ จักสารไม้ไผ่ ไก่ย่างทางพาด ตลาดกะหล่ำ เลิศล้ำเพชรพลอยเจียระไน พระใหญ่ภูเม็งทอง
-
บรรพบุรุษของคนที่นี่มีถิ่นเดิมอยู่แถบเมืองแกงหรือที่เรียกตามพงศาวดารเมืองแกงว่าเมืองน้ำน้อย ผู้ไทแถบเมืองแกงเรียกตนเองว่า ผู้ไทกวาน แต่คนกลุ่มชาติพันธุ์อื่นมักเรียกผู้ไทในเมืองนั้นว่า ผู้ไทดำ