-
ชุมชนเกษตรกรรมที่อาศัยอยุ่ใกล้กับอ่างเก็บน้ำแก่งเลิงจาน ชุมชนที่มีวิถีชีวิตเรียบง่ายแบบชนบท มีโบราณสถานที่อาจไม่มีรูปแบบชัดเจนแต่มีเรื่องราวและซากหลงเหลืออยู่บ้าง
-
ชาวบางแก้วมีภาษาที่คล้ายคลึงกันกับผู้คนในภาคกลาง แต่มีลักษณะที่บ่งบอกให้รู้ว่าเป็นชาวบางแก้วบ้างก็ตรงที่หางเสียงเวลาลงท้ายประโยคที่สนทนามักมีคำว่า “เน้อ หรือ เนอะ” ติดอยู่ด้วยเสมอ ในบางแก้วมีทั้งคนจีนแต้จิ๋ว จีนไหหลำและคนไทยที่มีความสัมพันธุ์อันดีในแง่ของการผลิต พ่อค้าคนกลางหรือชาวนาไร่ผู้เพาะปลูก
-
ชุมชนรามัญกลุ่มสุดท้ายแห่งเมืองหริภุญไชยผู้เชื่อว่าตนสืบเชื้อสายมาจากชาวมอญตั้งแต่สมัยหริภุญไชยพร้อมกับการกำเนิดของพระนางจามเทวีดังหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏที่วัดเกาะกลางและตำนานโยนกนคร
-
หมู่บ้านชาวอาข่าบนถนนสาย 1089 ถนนสายวัฒนธรรมที่เรียงรายด้วยหมู่บ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ตลอดสาย หมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ที่เรียกว่าเป็นทำเลทองของตำบลป่าตึง เพราะพื้นที่บริเวณนี้เปรียบเสมือนจุดศูนย์กลางแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในละแวกแถบนี้
-
ชุมชนมีการอนุรักษ์สืบทอดวิถีการแสดงดนตรีกะเหรี่ยง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติน้ำตกบ่อหวี จุดชมวิวห้วยคอกหมู ชายแดนไทย-เมียนมา และเป็นที่ตั้งโครงการฟาร์มตัวอย่างตามแนวพระราชดำริบ้านบ่อหวี แหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรกรรมที่สำคัญของจังหวัด
-
บ้านท่าตาฝั่ง ชุมชนชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงปกาเกอะญอ (สะกอ) บนพื้นที่บริเวณแนวเขตชายแดนที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
-
ตำนานบ้านไผ่ล้อม ชุมชนเก่าแก่กับเรื่องเล่าท้องถิ่น และประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อที่เป็นเอกลักษณ์
-
ชุมชนชนบทที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปและเกษตรกรรม แหล่งรวมศรัทธา "ม่อนประทีป"
-
-
กระบวนการชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มีหาดทรายทุ่งนุ้ย ป่าชายเลน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ของท้องถิ่น
-
วัดศรีบุญเรือง วัดเก่าแก่ที่ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2475 โดยท้าวบุญเรือง เป็นพุทธสถานศูนย์รวมจิตใจของคนในหมู่บ้าน