-
ชาวไทยเขินบ้านสันก้างปลา เป็นชุมชนชาวไทเขินที่อพยพมาจากเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ในปัจจุบัน อพยพมาคราวเดียวกับไทเขินในพื้นที่บ้านทรายมูล บ้านมอญ บ้านสันกลางเหนือ และอีกหลายแห่งที่พลัดถิ่นอยู่กันคนละอำเภอ แต่ได้รับอิทธิพลในสมัยนั้น คือ การอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน และมีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ เช่น วัฒนธรรมการพูด การทำอาหาร การแต่งกาย การก่อสร้างบ้านเรือน และประเพณีพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น
-
ชุมชนพหุวัฒนธรรม ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน กับวิถีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และพื้นที่ทางธรรมชาติที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
-
หมู่บ้านชาวอาข่าบนถนนสาย 1089 ถนนสายวัฒนธรรมที่เรียงรายด้วยหมู่บ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ตลอดสาย หมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ที่เรียกว่าเป็นทำเลทองของตำบลป่าตึง เพราะพื้นที่บริเวณนี้เปรียบเสมือนจุดศูนย์กลางแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในละแวกแถบนี้
-
ชุมชนบ้านห้วยหลวงมีเอกลักษณ์ทางเครื่องดนตรีที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันจากบรรพบุรุษ
-
การแต่งกายของชาวโส้ ภาษามอญ-เขมร พิธีวันตรุษโส้ เจดีย์บรรจุธาตุของอาจารย์กัณหาอาญาผ้าดำ (เจ้าปู่ผ้าดำ) รอยพุทธบาท วัดพระพุทธบาท สะพานแขวนอนุรักษ์
-
“งดงามวิหารไทลื้อ ลือชื่อผ้าทอสีธรรมชาติ น้ำใสสะอาดวังปาล ผืนป่าเขียวขจี ยึดวิถีวัฒนธรรมไทลือ” ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดน่าน กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประเพณี และการปรับตัวให้เข้ากับสังคมในโลกยุคปัจจุบัน
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ขมุในเขตพื้นที่รอยต่อชายแดนไทย-ลาว ภูมิปัญญาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่นและวิถีชีวิตของผู้คนกับธรรมชาติ
-
บ้านแม่ยางส้าน ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ (กะเหรี่ยงสะกอ) กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ และภูมิปัญญาวิถีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์
-
บ้านไล่โว่ - สาละวะ เป็นชุมชนชาติพันธุ์โผล่วที่มีวิถีวัฒนธรรมที่โดดเด่นในชุมชนมีการประกอบอาชีพทำไร่หมุนเวียนซึ่งเป็นวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมตั้งแต่อดีตทำให้มีความเชื่อเรื่องการอยู่ร่วมกับผืนป่าและยังมีวัฒนธรรมที่ส่ต่อมายังลูกหลาน เช่นประเพณีฟาดข้าว ประเพณีบุญข้าวใหม่ ประเพณีผูกข้อมือ ฯลฯ