-
ประชากรในชุมชนมาจากหลายพื้นที่ไม่ได้มีลักษณะเป็นชาติพันธุ์เดียวกันและไม่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ เหมือนกับชุมชนอื่น ๆ ชาวบ้านจึงมีทั้งคนไทย คนไทยเชื้อสายจีน และคนไทยเชื้อสายลาว การตั้งบ้านเรือนจึงตั้งตามกลุ่มที่อพยพเข้ามาโดยมีการตั้งชื่อเป็นคุ้มต่าง ๆ อยู่ด้วยกันอย่างสันติ
-
วิถีชีวิตปกากะญอผ่านการสร้างพื้นที่ของตนท่ามกลางธรรมชาติ ด้วยการทำเกษตรกรรมแบบไร่หมุนเวียนเพื่อเศรษฐกิจและการยังชีพ
-
ชุมชนที่ยังคงยึดมั่นในการอนุรักษ์ชุมชนและวัฒนธรรมประเพณีชาวมอญ เช่น การรำผีเม็ง(มอญ) ประเพณีลอยอะมด(ลอยกระทง)
-
ชาวบรูบ้านหินแตกมีจุดเด่นเรื่องพืชพันธุ์ที่ตนสามารถหาได้จากป่า เช่น หน่อไม้ไร่ เห็ด และอื่น ๆ ออกมาวางขายหน้าบ้านในช่วงเวลาเช้าตรู่
-
บ้านหนองส่าน ชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตร สัมผัสการทำเกษตรกรรมแบบผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน การดำนาและการย้อมคราม หมู่บ้านที่ถูกโอบล้อมด้วยทิวเขาภูพาน ที่คงความเรียบง่ายและดั้งเดิม สัมผัสคุณค่าความสำคัญของการใช้ชีวิต วิถีชีวิตชนบท สะท้อนภาพนิยามแห่งชุมชนบ้านหนองส่านที่ว่า ภูผา ผืนนา ป่าล้อม ย้อมคราม
-
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอที่มีอายุมากว่า 200 ปี มีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์และสวยงาม
-
บ้านพี่น้องชาติพันธุ์ขมุ ชีวิตผูกพันกับผืนป่า สืบทอดประเพณีดั้งเดิม หุงเหล้าแบบชาวขมุ
-
เป็นชุมชนที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งอยู่ร่วมกัน มีวัดทุ่งผักกุดเป็นศูนย์กลางชุมชนและเป็นอนุสรณ์สถาน มีการสร้างด้วยสถาปัตยกรรมอาคารไม้อายุกว่าร้อยปี
-
บ้านหนองหลัก ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงท่ามกลางพื้นที่ทางธรรมชาติทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ กับการจัดการพื้นที่ป่าชุมชน และวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์