-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ จากปัญหาโรคระบาดสู่การรับวัฒนธรรมจากการเผยแผ่ศาสนา การเปลี่ยนแปลงความเชื่อและการสร้างชุมชนใหม่
-
ชุมชนที่ยังคงพูดภาษาถิ่น ภาษาลื้อ พึ่งพิงวิถีเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อการยังชีพและขาย
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า-ไทลื้อจากหลายพื้นที่เข้ามารวมตัวกันเพื่อแสวงหาพื้นที่ทำกินและพัฒนาคุณภาพชีวิต สู่สังคมพหุวัฒนธรรมท่ามกลางดินแดนธรรมชาติในพื้นที่ชายแดนริมฝั่งแม่น้ำโขง
-
ชุมชนที่มีต้นไม้ใหญ่ ไม้หายาก และสัตว์นานาชนิด ประชาชนมีกฎระเบียบในการดำเนินป่าชุมชนอย่างยั่งยืน เป็นต้นแบบของชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
-
ชุมชนเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อยังชีพและการค้า เป็นชุมชนที่เด่นด้านการทำข้าวแคบ ผ้าทอไตลื้อลายขะแจ๋หลงตู้ สานน้ำถุ้ง ทำตุ๊กตาไตลื้อ
-
เมืองหน้าด่าน อำเภอเวียงแก่น ดินแดนสองฝั่งโขง ดำรงวัฒนธรรมชนเผ่า เหล้าอุหวานบ้านห้วยเอียน
-
ชุมชนไตหย่าที่ยังคงรักษาอัตลักษณ์วัฒนธรรมของไตหย่าไว้อย่างชัดเจน เป็นที่รู้จักของบุคคลภายนอกที่เข้ามาศึกษาดูงานและเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไตหย่า และมีตัวแทนชาวไตหย่าออกไปร่วมกิจกรรมทางสังคมกับหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนอยู่เสมอ
-
ผ้าทอบ้านหล่ายทุ่งเป็นผ้าฝ้ายทอด้วยมือที่มีความสวยงามและโดดเด่นในความเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาวไทลื้อซึ่งมีมาตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน การทอผ้าไทลื้อ ช่างทอผ้าได้นำลวดลายทั้งเก่าและใหม่มาผสมผสานกันได้อย่างลงตัวตรงกับความต้องการ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย มีลวดลายที่หลากหลายซึ่งเกิดจากจินตนาการของคนทอและเป็นภูมิปัญญาแต่ดั้งเดิม จุดเด่นของผ้าทอบ้านหล่ายทุ่ง คือ ลวดลายโบราณและการประยุกต์ลายให้ดอกเล็กลง