-
บ้านแม่หอย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือชาวกะเหรี่ยงสะกอ ชุมชนบนพื้นที่เนินสูงกลางหุบเขาที่มีทรัพยากรป่าไม่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อท้องถิ่น
-
ผืนป่าชุมชนมีสภาพเป็นป่าดิบชื้นอุดมสมบูรณ์ ป่าต้นน้ำเป็นพื้นที่อนุรักษ์ใช้ประโยชน์ดูดซับน้ำสำหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคและเกษตร ชุมชนนิยมปลูกข้าวพันธุ์ บือพะโด๊ะ บือโพ ปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น กะหล่ำปลี ซูคีนี่ ถั่วลิสง ถั่วพูและพืชพื้นถิ่นอื่น ๆ ตามปลายไร่นา
-
ชุมชนปกาเกอะญอที่อาศัยพึ่งพิงธรรมชาติ มีวิถีชีวิตการทำไร่หมุนเวียน เอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์เฉพาะตน
-
ชาวบ้านป่าคานอก มีรูปแบบการทำไร่หมุนเวียนโดยยึดโยงเอาคติความเชื่อ จารีต ประเพณีดั้งเดิมของชาวกะเหรี่ยงเข้ามาเป็นส่วนสำคัญของวิถีการทำไร่
-
ชุมชนกะเหรี่ยงปกาเกอะญอ ที่อาศัยอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ และความท้าทายจากการจัดการพื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติที่กระทบต่อสิทธิของชุมชนดั้งเดิม
-
ชมความงามของทะเลหมอกที่ทอดยาวไปไกลถึงอุทยานแห่งชาติแม่โถ สูดอากาศบริสุทธิ์ที่จุดชมวิวเด่นกระต่ายบนยอดดอยบ้านเซโดซา
-
บ้านห้วยหอย ชุมชนชาวไทยภูเขากลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ บนพื้นที่ตั้งชุมชนที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีความสวยงาม กับการจัดการส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชน
-
ชุมชนขนาดเล็ก ที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมย และมีประเพณีสำคัญ เช่น ประเพณีมัดมือลาขุ ประเพณีแต่งงาน ประเพณีเลี้ยงผีไร่/ผีนา
-
เป็นชุมชนริมห้วยแม่จวาง มีน้ำตก และดอยทูเล เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรป่าไม้
-
ชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งบนยอดดอยในอำเภอแม่วิน สถานที่ที่ยังคงอบอวลด้วยกลิ่นไอวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวปกาเกอะญอ ถ่ายทอดลำนำวิถีผ่านเสียงพิณเตหน่าและการขับบททา ชมนาขั้นบันไดและสวนผลไม้เมืองหนาว พืชเศรษฐกิจที่สร้างอาชีพ สร้างรายได้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
-
ชุมชนชาติพันธุ์ มีประเพณีสำคัญ อาทิ ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ ประเพณีมัดมือ/ลาขุ ประเพณีเลี้ยงผี