-
-
2510 คือปีที่บ้านสระปรือถูกตั้งขึ้น ชื่อชุมชนมีที่มาจากการเรียกพืชตระกูลกกชนิดหนึ่ง จาก ต้นผรือ เพี้ยนเสียงกลายเป็น ต้นปรือ ชาวบ้านจึงนำมาตั้งชื่อกระทั่งถึงปัจจุบัน
-
ภายในชุมชนมีโรงเรียนวัดหัวฝาย ซึ่งเปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล จนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภายในชุมชนยังมีวัดหัวฝายซึ่งเป็นสถานที่สำคัญในการทำกิจกรรม และมีกลุ่มอาชีพการทำขิง เป็นผลิตภัณฑ์หมู่บ้าน
-
ชุมชนเกษตรกรรม เเละเป็นชุมชนที่ได้รับรางวัลหมู่บ้านปลอดยาเสพติด ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย
-
ชุมชนที่มีวัฒนธรรมส่วนใหญ่คล้ายกับทางภาคอีสาน อาทิ พิธีการแต่งงาน การทำพิธีบายศรีสู่ขวัญโดยพ่อหมอของหมู่บ้าน
-
ซึมซับวัฒนธรรมปกาเกอะญอ สัมผัสความงามธรรมชาติและกลิ่นไอแห่งการผสมผสานของวิถีชีวิตดั้งเดิมและพลวัตทางสังคมที่ไหลบ่าในชุมชนบ้านแม่อูคอหลวง
-
ชุมชนที่ยังคงพูดภาษาถิ่น ภาษาลื้อ พึ่งพิงวิถีเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อการยังชีพและขาย
-
-
ต้นไทร ไม้มงคลที่เชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตของเทพารักษ์ ชาวบ้านได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น เพื่อเป็นศิริมงคลและเป็นที่พึ่งทางใจ จึงเป็นเหตุให้ขนานนามหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “บ้านต้นไทร”
-
-
วิถีชีวิตที่เรียบง่าย ป่าไม้สมบูรณ์ น้ำตกสวยงาม ลาบสมุนไพรเลื่องชื่อ ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ รักสงบ แบ่งปันเกื้อกูล
-
เคยเป็นพื้นที่ของชาวลัวะมาก่อน ต่อมามีการเคลื่อนย้ายกลุ่มคนและเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่โดยกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ มีการอยู่อาศัยและทำกินบนพื้นที่แห่งนี้มากกว่าร้อยปี เดิมเป็นหย่อมบ้านที่ขึ้นกับหมู่ที่ 6 บ้านแม่ลานคำ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงได้ทำการแยกเป็นหมู่บ้านป่านอก หมู่ที่ 11