-
หมู่บ้านป่าห้า หมู่ที่ 9 มีการแบ่งส่วนการปกครองในหมู่บ้านแบบหมวดมื้อ (ป๊อก) มี 11 ป๊อกส่วนใหญ่มี อสม.ทำหน้าที่ในการดูแล เพื่อเป็นการแบ่งความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม หรือตามประเพณีต่างๆ ทั้งในและนอกชุมชน
-
ชุมชนชาติพันธุ์ลาหู่ที่มีการพึ่งพิงธรรมชาติ มีการปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคในครัวเรือน และเพื่อการค้าขายกับภายนอก
-
มีความโดดเด่นด้านการอยู่อาศัยรวมกันของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ และผ้าทอไทใหญ่ที่เป็นอัตลักษณ์ของหมู่บ้าน
-
“ต้นผึ้ง” ไม่ใช่เป็นชื่อของต้นไม้ แต่เป็นต้นไม้ลุงขนาดใหญ่ เป็นไม้ประเภทเดียวกับไม้ไฮ แต่มีผึ้งมาทำรังเป็นจำนวนมาก มีผู้บอกเล่าว่าบางต้นเป็นต้นไทร เมื่อมีผึ้งมาทำรังจำนวนมากเป็นร้อย ๆ รัง ชาวบ้านจึงเรียกว่า ต้นผึ้ง
-
ชุมชนกึ่งเมืองตั้งอยู่ระหว่างรอยต่อ สามารถเดินทางไปมาสะดวก พื้นที่ติดริมแม่น้ำและถนนสายหลัก มีวัดพระนอนขอนตาลและศูนย์รักษามะเร็งใกล้บริเวณชุมชน
-
ชุมชนของชาวยองบ้านศรีเมืองยู้ มีประวัติศาสตร์ของชุมชนที่ยาวนาน และยังคงปรับตัวให้เข้ากับโลกปัจจุบัน อีกทั้งยังมีวิถีชีวิตที่หลากหลาย
-
ถนนสายเล็กที่มุ่งหน้าสู่หมู่บ้านเมืองลวง อบอวลด้วยวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่ได้เริ่มฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรม สร้างความภาคภูมิใจและรายได้สู่ชุมชน
-
ชุมชนพหุวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์หลายหลาย และการพัฒนาชุมชนให้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ได้รับความนิยม
-
แม่แดดน้อย ชุมชนปกาเกอะญอที่ยืนหยัดหาทางสู้ สร้างทางรอดกับระบบเศรษฐกิจครอบครัวจนเกิดการรวมตัวกลุ่มสตรีด้อยโอกาสก่อตั้งวิสาหกิจชุมชนบ้านแม่แดดน้อยและร่วมกับหมู่บ้านจาก 3 ตำบลในอำเภอกัลยาณิวัฒนา พัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สินค้าจากภูมิปัญญา เชื่อมโยงสายใยแห่งจิตวิญญาณภายใต้ชื่อแบรนด์ "เดปอถู่" แบรนด์สินค้าที่เป็นมากกว่าแค่ผลิตภัณฑ์ หากแต่เป็นตัวแทนเรื่องราวชีวิตของสตรีผู้ด้อยโอกาสชาวปกาเกอะญอ