-
ชุมชนรามัญกลุ่มสุดท้ายแห่งเมืองหริภุญไชยผู้เชื่อว่าตนสืบเชื้อสายมาจากชาวมอญตั้งแต่สมัยหริภุญไชยพร้อมกับการกำเนิดของพระนางจามเทวีดังหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏที่วัดเกาะกลางและตำนานโยนกนคร
-
การตีเหล็ก อาชีพหลักที่เคยสำคัญ แม้ปัจจุบันการถลุงแบบโบราณได้สูญหายไปแล้ว แต่ผู้คนบางส่วนก็ยังคงมีความผูกพันอย่างเช่นอดีต
-
ชุมชนพหุวัฒนธรรมชาติพันธุ์ที่หลากหลายกับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติภายใต้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและศาสนา
-
ผืนป่าชุมชนมีสภาพเป็นป่าดิบชื้นอุดมสมบูรณ์ ป่าต้นน้ำเป็นพื้นที่อนุรักษ์ใช้ประโยชน์ดูดซับน้ำสำหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคและเกษตร ชุมชนนิยมปลูกข้าวพันธุ์ บือพะโด๊ะ บือโพ ปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น กะหล่ำปลี ซูคีนี่ ถั่วลิสง ถั่วพูและพืชพื้นถิ่นอื่น ๆ ตามปลายไร่นา
-
-
ชุมชนไทเขินต้นแหนหลวงมีการอนุรักษ์สืบสานการแต่งกายด้วยชุดไทเขินทั้งผู้ชายและผู้หญิง พูดภาษาไทเขินในการสื่อสารกันในชุมชน ประกอบอาชีพทำเกษตรปลูกลำไยและพืชผักสวนครัว ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
-
ชุมชนที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ มีชาวไทยภูเขาเผ่าอาข่า ไทลื้อ และเผ่าลาหู่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง โบสถ์คริสต์หย่อมห้วยสา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสองพี่น้อง
-
บ้านแม่หอย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือชาวกะเหรี่ยงสะกอ ชุมชนบนพื้นที่เนินสูงกลางหุบเขาที่มีทรัพยากรป่าไม่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อท้องถิ่น
-
ศิลปะพุทธศิลป์ล้านนาวัฒนธรรมประเพณีที่ปรับเปลี่ยนไปตามยุคและสมัย แต่ก็คงเอกลักษณ์แบบดั้งเดิมของตนเองเอาไว้ได้ อีกทั้งใกล้กับเขตของสนามบินลำปางบริเวณส่วนท้ายของสนามบิน
-
จากดอยหัวแม่คำสู่บ้านเวียงกลาง ลีซูบ้านเวียงกลาง ชุมชนชาติพันธุ์ที่มีประวัติความเป็นมาการอพยพและการก่อตั้งหมู่บ้านมาร่วมร้อยปี
-
ชุมชนชนบทประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและอาชีพรับจ้าง มีพื้นที่ติดต่อกับแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของอำเภอแม่ออน คือ น้ำพุร้อนสันกำแพง
-
เป็นหมู่บ้านใหญ่และเป็นหมู่บ้านแรก ๆ ของชุมชนชาติพันธ์ุกะเหรี่ยง ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโพล่งอาศัยอยู่จำนวนมาก ที่ยังคงสืบทอดประเพณี วิถีปฏิบัติดั้งเดิม เช่น การเลี้ยงผี