-
ผืนป่าชุมชนมีสภาพเป็นป่าดิบชื้นอุดมสมบูรณ์ ป่าต้นน้ำเป็นพื้นที่อนุรักษ์ใช้ประโยชน์ดูดซับน้ำสำหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคและเกษตร ชุมชนนิยมปลูกข้าวพันธุ์ บือพะโด๊ะ บือโพ ปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น กะหล่ำปลี ซูคีนี่ ถั่วลิสง ถั่วพูและพืชพื้นถิ่นอื่น ๆ ตามปลายไร่นา
-
ชุมชนชาวกูยที่ถือเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทยที่ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่บริเวณนี้
-
ชุมชนที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ มีชาวไทยภูเขาเผ่าอาข่า ไทลื้อ และเผ่าลาหู่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง โบสถ์คริสต์หย่อมห้วยสา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสองพี่น้อง
-
เป็นหมู่บ้านใหญ่และเป็นหมู่บ้านแรก ๆ ของชุมชนชาติพันธ์ุกะเหรี่ยง ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโพล่งอาศัยอยู่จำนวนมาก ที่ยังคงสืบทอดประเพณี วิถีปฏิบัติดั้งเดิม เช่น การเลี้ยงผี
-
-
ประติมากรรมงานปั้นพระพุทธชนะมาร ปางมารวิชัยทรงเครื่ององค์ใหญ่ ภายในวัดม่วงสระน้อย สลักโดยฝีมือช่างพื้นบ้าน ตั้งตระหง่านเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาผู้คนบริเวณริมลำน้ำคลองพระเพลิง
-
ชุมชนชาวมอญโบราณที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย วิถีชีวิตของผู้คนกับสายน้ำ และการรักษาวิถีวัฒนธรรมแบบมอญที่เป็นเอกลักษณ์
-
การแต่งกายของชาวโส้ ภาษามอญ-เขมร พิธีวันตรุษโส้ เจดีย์บรรจุธาตุของอาจารย์กัณหาอาญาผ้าดำ (เจ้าปู่ผ้าดำ) รอยพุทธบาท วัดพระพุทธบาท สะพานแขวนอนุรักษ์
-
บ้านแม่หอย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หรือชาวกะเหรี่ยงสะกอ ชุมชนบนพื้นที่เนินสูงกลางหุบเขาที่มีทรัพยากรป่าไม่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งชีวิตของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงทางความเชื่อท้องถิ่น