บ้านบ่อหลวง
การตีเหล็ก อาชีพหลักที่เคยสำคัญ แม้ปัจจุบันการถลุงแบบโบราณได้สูญหายไปแล้ว แต่ผู้คนบางส่วนก็ยังคงมีความผูกพันอย่างเช่นอดีต
บ้านแม่สุกเหนือ
"พระธาตุคู่ดูสง่า น้ำตกแม่สุกงามตา สำเนียงภาษาบอกถิ่น หมู่บ้านแม่คู่แผ่นดิน ลิ้นจี่ดีมีมากมาย หลากหลายผลิตภัณฑ์"
บ้านสําโรงทาบ
ชุมชนชาวกูยที่ถือเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทยที่ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่บริเวณนี้
บ้านท่าประทาย
วัดเทพากร
วัดโบราณที่มีประวัติที่สัมพันธ์กับชาวมอญในย่านฝั่งธนบุรีในอดีตอย่างใกล้ชิด วัดเทพากร (วัดท่านท้าวทอง/วัดบางพลูบน) คู่กับวัดเทพนารี (วัดท่านท้าวเงิน/วัดบางพลูล่าง ) อันมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในเชิง “วัดพี่วัดน้อง”
บ้านหนองดู่
ชุมชนรามัญกลุ่มสุดท้ายแห่งเมืองหริภุญไชยผู้เชื่อว่าตนสืบเชื้อสายมาจากชาวมอญตั้งแต่สมัยหริภุญไชยพร้อมกับการกำเนิดของพระนางจามเทวีดังหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏที่วัดเกาะกลางและตำนานโยนกนคร
บ้านต๊ำพระแล
น้ำตกขุนต๊ำ จำปาทองลือชื่อ ศักดิ์สิทธิ์คือพระธาตุโป่งขาม ลือนามแดนข้าวโพดหวาน เล่าขานถิ่นสาวงาม โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา ผลิตภัณฑ์ผักตบชวา ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ท่าแพ
ชุมชนท่าแพ พื้นที่ที่เต็มไปด้วยมรดกทรัพยากรทางธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม กับพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและศักยภาพชุมชน
บ้านต้นแหนหลวง
ชุมชนไทเขินต้นแหนหลวงมีการอนุรักษ์สืบสานการแต่งกายด้วยชุดไทเขินทั้งผู้ชายและผู้หญิง พูดภาษาไทเขินในการสื่อสารกันในชุมชน ประกอบอาชีพทำเกษตรปลูกลำไยและพืชผักสวนครัว ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง