-
ชุมชนที่ยังคงยึดมั่นในการอนุรักษ์ชุมชนและวัฒนธรรมประเพณีชาวมอญ เช่น การรำผีเม็ง(มอญ) ประเพณีลอยอะมด(ลอยกระทง)
-
บ้านสระกลาง เป็นบ้านที่ตั้งขึ้นใหม่ โดยแยกตัวมาจาก หมู่ 3 บ้านสระเหนือ ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เป็นคนพื้นเมืองที่ย้ายมากจากชุมชนใกล้เคียงกัน และมีความสัมพันธ์เครือญาติที่เชื่อมโยงกัน
-
เป็นชุมชนที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งอยู่ร่วมกัน มีวัดทุ่งผักกุดเป็นศูนย์กลางชุมชนและเป็นอนุสรณ์สถาน มีการสร้างด้วยสถาปัตยกรรมอาคารไม้อายุกว่าร้อยปี
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอที่มีอายุมากว่า 200 ปี มีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์และสวยงาม
-
ชุมชนแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำวังในเส้นทางไปกราบสักการะพระธาตุลำปางหลวง ซึ่งมีเรื่องราวและประเพณีที่เป็นวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ในภูมิภาคของตน
-
ชุมชนต้นแบบด้านการอนุรักษ์ป่าชุมชนจากความร่วมมือ ร่วมแรง และร่วมใจของคนในชุมชนเพื่อฟื้นฟูความเสียหายจากวิกฤตทางธรรมชาติ จนประสบความสำเร็จได้รับรางวัลชนะเลิศดีเด่น “ป่าชุมชน : สืบสาน รักษา ต่อยอด สร้างสุขปวงประชา” จากการประกวดโครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน ประจำปี 2562
-
-
-
พื้นที่กองทัพเรือที่ตั้งสถานีทหารเรือสงขลา สู่ชุมชนข้าราชการทหาร "พิเศษทหารเรือ" กับการปกป้องดูแลและพัฒนาสังคม