เมืองแปง
ชุมชนคนเมืองที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ คือ โป่งน้ำร้อนเมืองแปง
บ้านป่าเปา
ชุมชนที่ยังคงพูดภาษาถิ่น ภาษาลื้อ พึ่งพิงวิถีเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อการยังชีพและขาย
บ้านโคกสะแกลาด
ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ที่ยังคงสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอย่างการลงแขกเกี่ยวข้าวและประเพณีสงกรานต์ไว้เป็นอย่างดี
บ้านป่าคานอก
เคยเป็นพื้นที่ของชาวลัวะมาก่อน
ต่อมามีการเคลื่อนย้ายกลุ่มคนและเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่โดยกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ
มีการอยู่อาศัยและทำกินบนพื้นที่แห่งนี้มากกว่าร้อยปี เดิมเป็นหย่อมบ้านที่ขึ้นกับหมู่ที่
6 บ้านแม่ลานคำ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงได้ทำการแยกเป็นหมู่บ้านป่านอก หมู่ที่ 11
บ้านเกาะสะเดิ่ง
ชุมชนริมน้ำโรคี่ หนึ่งในกลุ่มบ้านสมาชิกวิสาหกิจกาแฟไล่โว่ วิสาหกิจจาก 5 กลุ่มบ้านที่อยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก
บ้านลำปี
ชุมชนชาวมอแกลนริมฝั่งทะเลอันดามัน ต้นกำเนิดตำนานนิทรานปรัมปราตอกย้ำวิถีชีวิตร่อนเร่ที่เหมือนถูกสาปแช่งของชาวมอแกลนแถบลำน้ำลำปี
บ้านตาตา
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์กูย กับประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์
มรดกภูมิปัญญาการทอผ้าไหมในชุมชนเพื่อสร้างรายได้ และเพื่อการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการทางสังคม
ป่าโคกหนองไผ่
ป่าโคกสำคัญของคนท้องถิ่นและมีการเปลี่ยนแปลงหลังการเข้ามาของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บ้านหนองเข้
ศูนย์การศึกษาไตดำบ้านหนองเข้ แหล่งเรียนรู้วิถีกลุ่มชาติพันธุ์ที่อนุรักษ์ไว้ให้เยาวชนคนรุ่นใหม่และผู้ที่สนใจได้ศึกษา