-
กระดาษสาบ้านต้นเปา ชุมชนเก่าแก่กับมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ นำมาสู่การสร้างงานสร้างอาชีพ พัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชน จนเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
-
ชุมชนเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนับตั้งแต่สมัยสุโขทัยหรือต้นอยุธยา ทำให้ภายในชุมชนจึงมีวัดเก่าอย่างวัดสาขลาที่มีโบราณสถานเจดีย์เก่าอยู่ นอกจากนี้ยังมักมีพิพิธภัณฑ์ต่างๆที่จัดแสดงของเก่าโบราณที่หาได้จากภายในชุมชน ทั้งนี้ภายในชุมชนปัจจุบันชาวบ้านส่วนใหญ่ยังมีการประกอบอาชีพทำประมง เลี้ยงกุ้ง ปู หอย จับปลา ซึ่งด้วยวิถีนี้ทำให้จึงมีการผลิตสินค้าแปรรูปอันเกี่ยวกับของทะเลต่างๆมากมายในชุมชนแห่งนี้ด้วย โดยผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ขึ้นชื่อและโดดเด่นที่สุดจนเป็นของดีของชุมชนสาขลาก็คือกุ้งเหยียดนั่นเอง
-
ชุมชนที่มีความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ บนพื้นฐานของประเพณีความเชื่อและวัฒนธรรม
-
"ล่องแพ ชมวิวเขาจมป่า ทัศนาป่าชายเลน ตื่นตาอุโมงค์โกงกาง ทะเลแหวกสุดอลัง สิเน่ห์ล้ำเมืองตรัง"
-
ด้วยความสัมพันธ์ของผู้คนที่แนบชิด การไปมาหาสู่ระหว่างหมู่บ้านเป็นไปได้โดยง่าย เกิดการแลกปลี่ยนวัฒนธรรมพื้นบ้านระหว่างกัน จนกลายเป็นหมู่บ้านกลุ่มชาติพันธุ์โส้ที่ยังคงรักษา สืบทอด วัฒนธรรม จากรุ่นสู่รุ่นผ่านการทำกิจกรรมตามประเพณี
-
ชุมชนที่ให้ความสำคัญกับป่าไม้ จึงร่วมกันจัดตั้งองค์กรและช่วยกันอนุรักษ์ป่าน้ำจำ ซึ่งเป็นป่าชุมชนที่มีความสำคัญ
-
บ้านขี้เหล็กใหญ่เป็น "บ้านเจ้าบ้านนาย" เป็นหมู่บ้านที่มีการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี อันดีงามไว้มากมาย อีกทั้งผู้คนในชุมชนมีความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีระเบียบวินัยในการทำงานและใช้ชีวิต
-
สืบเนื่องจากบ้านโคกโก่งตั้งอยู่ในอาณาบริเวณที่มีภูมิทัศน์ทางธรรมชาติเอื้ออำนวยต่อการจัดการท่องเที่ยว อีกทั้งยังมีทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่งดงาม นำไปสู่การผลักดันให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม นำเอาการท่องเที่ยวรูปแบบโฮมสเตย์เข้ามาในชุมชน ก่อตั้งศูนย์วัฒนธรรมสายใยชุมชน หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทโคกโก่งโฮมสเตย์ขึ้น เพื่อถ่ายทอดวิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมผู้ไทให้เป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมหมู่บ้าน
-
ชุมชนตลาดกำแพงแสนเป็นเมืองเก่า ที่เป็นดินแดนขนาดใหญ่ และมีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ โดยเมืองเก่ากำแพงแสนนั้นเป็นเมืองเก่าสมัยทวาราวดี อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16
-
เป็นชุมชนริมคลองเก่าเเก่บริเวณปากคลองมะขามเฒ่า โดยมีวัดปากคลองมะขามเฒ่าที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของผู้คนในชุมชน
-
ชุมชนผู้ไทบ้านจุมจังมีธรรมาสน์เสาเดียว ตั้งอยู่ที่ศาลาการเปรียญวัดจุมจังเหนือฝังเสาธรรมาสน์ทะลุพื้นศาลาลงดินตามคติความเชื่อของชาวผู้ไท ซึ่งมีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นศาสนวัตถุเชิงสัญลักษณ์ต่อการประกอบพิธีกรรมตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวผู้ไท