-
ชุมชนริมชายฝั่งทะเลอ่าวไทย พื้นที่ที่มีทรัพยากรสัตว์น้ำเค็มมากที่สุดในปี พ.ศ. 2548 โดยเฉพาะปูม้า ทำให้อาชีพการทำประมงปูม้าเป็นอาชีพที่สร้างรายได้อย่างมหาศาลให้แก่ชุมชน เกิดเป็นแนวคิดจัดตั้ง “ธนาคารปูม้า” เพื่อสร้างระบบในการบริหารจัดการปูม้า เพื่ออนุรักษ์ปูม้าให้คงเป็นทรัพยากรทางทะเลที่อุดมสมบูรณ์และเป็นสัตว์เศรษฐกิจของชุมชนต่อไป
-
การรวมกลุ่มของชาวบ้านจัดตั้งกลุ่มอาชีพส่งเสริมรายได้ในครัวเรือน เช่น กลุ่มฉิ้งฉ้างสามรส, กลุ่มทำขนมพื้นเมือง, กลุ่มทำเครื่องแกง
-
การจัดการท่องเที่ยวโยชุมชนเพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้กิน อยู่ อย่างพอเพียง ควบคู่กับอนุรักษ์ธรรมชาติ ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของชาวไทใหญ่ไว้ไม่ให้สูญหายเพื่อเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของบรรพบุรุษไว้ให้คงอยู่
-
ชุมชนพหุวัฒนธรรมชาติพันธุ์ที่หลากหลายกับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติภายใต้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและศาสนา
-
การขยายตัวของชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลื้อขนาดใหญ่ ทำให้เกิดการแยกตัวออกมาสร้างชุมชนใหม่ และการรักษาวิถีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์
-
-
"จักจั่นเลิศรส ไข่มดสดอร่อย มีไม่น้อยดอกกระเจียว สีเขียวแหล่งผักหวาน แลตระการเห็ดโคนดิน อุดมถิ่นวัฒนธรรม" นอกจากนี้ บ้านบะหว้าเป็นชุมชนที่มีภาษาพูดเฉพาะถิ่น คือ ภาษาญ้อ
-
-
-
ชุมชนต้นแบบแห่งการต่อสู้เพื่อเรียกร้องทวงสิทธิและความยุติธรรมจากหน่วยงานรัฐ ให้ได้มาซึ่งความเท่าเทียมและสวัสดิการพื้นฐานที่ประชาชนชาวปากมาบพึงได้รับเช่นเดียวกับหมู่บ้านอื่นที่อยู่บริเวณโดยรอบ ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มประมงบ้านปากมาบพัฒนา