-
หมู่บ้านที่แยกตัวออกมาจากบ้านบุเปือย เป็นที่ราบสูงสลับกับเนินเตี้ย สภาพดินเป็นดินแดงภูเขาไฟ เหมาะแก่การปลูกพืชทุกชนิด ส่วนวัฒนธรรมในระยะแรกได้รับอิทธิพลจากชาวกูย ก่อนภายหลังได้รับอิทธิพลจากชาวไทยเชื้อสายลาวเข้ามาผสมผสาน และได้กลายเป็นวัฒนธรรมหลักของชุมชนในที่สุด
-
ประชากรส่วนใหญ่เคลื่อนย้ายมาจากทางภาคเหนือ ประเพณีวัฒนธรรมจึงถอดแบบจากทางภาคเหนือ
-
ชุมชนมีการอนุรักษ์สืบทอดวิถีการแสดงดนตรีกะเหรี่ยง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติน้ำตกบ่อหวี จุดชมวิวห้วยคอกหมู ชายแดนไทย-เมียนมา และเป็นที่ตั้งโครงการฟาร์มตัวอย่างตามแนวพระราชดำริบ้านบ่อหวี แหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรกรรมที่สำคัญของจังหวัด
-
ชุมชนเกษตรกรรมที่มีการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาในการทำเกษตรแบบผสมผสาน โดยปลูกผักเหลียงปะปนไปในสวนยางพารา เพื่อสร้างรายได้และใช้ผืนแปลงเกษตรให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
-
ชุมชน ผู้คน และธรรมชาติ วิถีชีวิตที่ผูกพันเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติ และวิกฤตปัญหาสภาพแวดล้อมสู่การจัดการพื้นที่เขตอนุรักษ์เพื่อฟื้นฟูและรักษาระบบนิเวศอย่ายั่งยืน
-
หลางตาง ชุมชนพหุวัฒนธรรมที่มีการรวมตัวของประชาชนในหมู่บ้านจากต่างภูมิลำเนา 19 จังหวัดทั่วประเทศไทย
-
สัมผัสความบริสุทธิ์ทางธรรมชาติพร้อมไปเยือนถิ่นมันนิ กลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมและวิถีในผืนป่า ณ บ้านวังนาใน
-
หัตถกรรมจักสานคู่ชุมชนบางเจ้าฉ่า มรดกวัฒนธรรมภูมิปัญญาเป็นสมบัติอันล้ำค่าของท้องถิ่น สู่การฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจชุมชนสร้างชื่อเสียงและรายได้ให้กับผู้คนในพื้นที่
-
ป่าดงดิบ ไม้เบญจพรรณ ทรัพยากรธรรมชาติของบ้านปางหมิ่นเหนือที่ยังคงอุดมสมบูรณ์ ด้วยสัตว์น้อยใหญ่นานาชนิดและพืชสมุนไพรพื้นบ้านที่หลากหลาย