-
ชุมชนมลายูมุสลิมอายุกว่า 80 ปี ซึ่งมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากชุมชนมลายูมสลิมในจังหวัดอื่นอันเกิดจากองค์ประกอบหลายด้าน ทั้งการใช้ภาษามลายูถิ่นจะนะ รวมถึงการเป็นชุมชนเกษตรกรรมที่ทำให้กงกาเยาะยังคงความเป็นชุมชนชนบทได้ท่ามกลางชุมชนเมืองจะนะ
-
ชาวบ้านหนองพาบน้ำได้ร่วมกับชุมชนในตำบลโคกสะบ้าและตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง รวม 9 ชุมชน ก่อตั้งชมรมอนุรักษ์ป่าสาคู เพื่อแก้ปัญหาผลกระทบจากการขุดลอกคลองเพื่อสร้างชลประทาน ซึ่งทำลายป่าสาคูบริเวณแม่น้ำปะเหลียน เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูป่าสาคูที่เป็นทั้งแหล่งรายได้ และแหล่งอาหารของชุมชนมาอย่างยาวนาน
-
สภาพพื้นที่ที่มีลักษณะคล้ายภูเขาไฟระเบิด มีธารน้ำร้อนเป็นบริเวณหลายสิบไร่ และมีบ่อน้ำร้อนที่สามารถใช้อาบเพื่อรักษาโรคได้ ทำให้บ้านธารน้ำร้อนมีบทบาทเป็นทั้งชุมชนประวัติศาสตร์ สถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งศึกษาทางธรณีวิทยา
-
ชุมชนมุสลิม ประกอบอาชีพการประมงพื้นบ้านและเกษตรกรรม ทั้งการทำนาปีละครั้ง รวมถึงการทำสวนยางพาราและยังคงดำรงความสัมพันธ์ในชุมชนแบบเครือญาติอย่างเข้มแข็ง
-
หมู่บ้านไทรใหญ่พื้นที่ริมคลองท่าฉาง หมู่บ้านเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์การก่อตั้งชุมชนมาเป็นเวลานานกว่าสิบทศวรรษ
-
ชุมชนบ้านแม่ใจและชุมชนบริเวณใกล้เคียงรวมถึงวัดศรีสุพรรณ ร่วมกันจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ของชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติของชุมชนด้านศาสนา โดยตั้งอยู่ที่วัดศรีสุพรรณและใช้ชื่อว่าพิพิธภัณฑ์วัดศรีสุพรรณ
-
บ้านเขาตาวเป็นแหล่งผลิตผลผลิตทางการเกษตรขนาดใหญ่ของตำบลเขาขาว ผลผลิตที่ส่งออกจากบ้านเขาขาวมีปริมาณมากถึงวันละ 3 ตัน โดยเฉพาะถั่วฝักยาวที่มีชื่อเสียงมากในด้านความสด สวย และฝักใหญ่ยาว
-
ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่มีแม่น้ำปราณบุรีไหลผ่าน ทำให้บ้านฝั่งท่ามีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งในด้านการเกษตร พืชพรรณ สัตว์น้ำและนกมากมาย นำไปสู่การพัฒนาเป็นศูนย์ท่องเที่ยวเชิงเกษตรบ้านฝั่งท่าซึ่งเปิดดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2539
-
บ้านคอเตี้ย ชุมชนที่ยังคงปรากฏกลิ่นอายทางวัฒนธรรม คติ ความเชื่อดั้งเดิมของชาวผไทดำ ซึ่งสะท้อนผ่านประเพณีชุมชน ที่เรียกว่า “เสนเรือน”