-
บ้านแม่เย็น ชุมชนที่มีพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดการป่าชุมชนเพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของทรัพยากร
-
บ้านสุเม่นเหนือ หย่อมบ้านห้วยระแห้ ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลีซูที่มีวิถีชีวิตประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะบนพื้นที่ภูเขาสูง และมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ พื้นที่ศูนย์การเรียนรู้ชาวไทยภูเขา แม่ฟ้าหลวง กับวิถีชีวิตท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
การย้ายถิ่นฐานเข้ามาตั้งบ้านเรือนในพื้นที่ประวัติศาสตร์เก่าแก่ของเมืองเชียงใหม่ มีสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติกับพัฒนาการชุมชนและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
บนถนนหมายเลข 1256 ปัว-บ่อเกลือ บ้านน้ำแพะ ชุมชนแห่งนี้ยังคงปรากฏสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเรือนลัวะโบราณ กับการดำรงลักษณะของที่อยู่อาศัยในอดีตที่สามารถประยุกต์รูปทรงผสมผสานให้เหมาะสมกับการใช้สอยในปัจจุบัน และยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์เฉพาะตัวอันโดดเด่นของลัวะปรัย
-
วิถีชีวิตปกากะญอผ่านการสร้างพื้นที่ของตนท่ามกลางธรรมชาติ ด้วยการทำเกษตรกรรมแบบไร่หมุนเวียนเพื่อเศรษฐกิจและการยังชีพ
-
ชุมชนต้นแบบด้านการอนุรักษ์ป่าชุมชนจากความร่วมมือ ร่วมแรง และร่วมใจของคนในชุมชนเพื่อฟื้นฟูความเสียหายจากวิกฤตทางธรรมชาติ จนประสบความสำเร็จได้รับรางวัลชนะเลิศดีเด่น “ป่าชุมชน : สืบสาน รักษา ต่อยอด สร้างสุขปวงประชา” จากการประกวดโครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน ประจำปี 2562
-
ตลาดน้ำกึ่งชนบทใจกลางกรุงเทพที่มีการผสมผสานวิถีชีวิตของผู้คนกับธรรมชาติริมน้ำสองฝั่งคลองที่รายล้อมไปด้วยสวนผัก ผลไม้ มีความร่มรื่นเย็นสบาย ห่างไกลจากมลพิษ สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับผู้ที่อยากหลีกหนีความวุ่นวายจากสังคมเมือง มาพักผ่อนหย่อนใจกับธรรมชาติ
-
ชุมชนชาวลัวะเล็ก ๆ ในตำบลขุนน่าน หมู่บ้านที่มีประชากรเพียงร้อยกว่าครัวเรือน แต่มากด้วยความสุขสงบ อุดมด้วยทรัพยากร และเจริญด้วยวัฒนธรรมเก่าแก่ที่ชาวบ้านพร้อมใจกันสืบสาน
-
ชุมชนปกาเกอะญอที่ยังคงวิถีชีวิตผูกพันกับป่าเขาตามธรรมชาติ ภายในมีพิพิธภัณฑ์ปกาเกอะญอบอกเล่าเรื่องราวการต่อสู้เพื่ออุดมการณ์ยึดมั่นในอาชีพเป็นอนุสรณ์สถานให้ชนรุ่นหลังได้รำลึก