-
ชุมชนเลื่อนฤทธิ์มีการพบซากโบราณวัตถุในบริเวณชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเศษจาน ชาม แก้ว กระเบื้อง เกือกม้า ประตู หลังคา ไพ่นกกระจอก ไปจนถึงซากหมู สะท้อนให้เห็นคุณค่าทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 มาจนถึงปัจจุบัน
-
การอยู่รวมตัวกันของคนจีนและคนไทย วัฒนธรรมประเพณีผสมผสานที่คงอยู่ร่วมกันอย่างเป็นเอกลักษณ์ โดดเด่นด้านการทำเครื่องปั้นดินเผา
-
ชุมชนบ้านหัวถนนเป็นชุมชนที่มีชาวไทดำอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก โดยยังคงมีการดำรงอัตลักษณ์ในด้านต่าง ๆ เช่น การทำผ้าซิ่นลายแตงโม เสื้อไทและเสื้อฮี และชุมชนบ้านหัวถนนยังมีพิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตไทยทรงดำบ้านหัวถนน ที่ได้นำเสนอเกี่ยวกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวไทดำ
-
ชุมชนบ้านแหลมสัก เป็นพื้นที่ที่กลุ่มชาติพันธุ์ 3 กลุ่ม ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ร่วมกันทั้งจีนบาบ๋า มุสลิม และคนไทยพื้นถิ่น จึงได้รับการขนานนามว่า ดินแดนแห่งวัฒนธรรม 3 สาย
-
หมู่บ้านบุ่งกะแทว เป็นชุมชนพหุวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ส่งผลให้ภายในชุมชนมีความหลากหลายทางศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมและประเพณี
-
“ตะกั่วป่า” หรือ “ตะโกลา” ชุมชนที่มีความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเมืองท่าริมชายฝั่งอันดามัน และชุมชนการค้าที่มีความคึกคักในยุคการทำเหมืองแร่ แม้จะผ่านยุคแห่งความรุ่งเรืองมานานแล้ว ทว่า ตะกั่วป่ายังคงไว้ด้วยมนต์เสน่ห์แห่งร่องรอยอดีตอันรุ่งโรจน์ ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมสไตล์ชิโน-โปรตุกีส วัฒนธรรมการแต่งกายแบบบาบ๋า อาหารการกิน ตลอดจนวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของชาวชุมชน
-
ชุมชนมุสลิมเก่าแก่แห่งเมืองสงขลา ที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมของมัสยิดเป็นเอกลักษณ์ และเมนูท้องถิ่นขึ้นชื่ออย่าง ข้าวมันแกงไก่ ที่ขายมานานกว่า 100 ปี
-
ชุมชนเก่าแก่ที่มีอายุมากกว่า 100 ปี มีโบราณสถานเป็นสถานที่เคารพบูชาของคนในชุมชนและผู้คนที่ศรัทธาจากภายนอกชุมชน ได้แก่ วัดธรรมามูล และวัดปากคลองมะขามเฒ่า