-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ จากปัญหาโรคระบาดสู่การรับวัฒนธรรมจากการเผยแผ่ศาสนา การเปลี่ยนแปลงความเชื่อและการสร้างชุมชนใหม่
-
ชุมชนที่อาศัยอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ กับการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชน และวิถีวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงที่เป็นเอกลักษณ์
-
หมู่บ้านเล็ก ๆ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าน้ำยาวและป่าน้ำสวด ชุมชนชาวลัวะที่ยังคงมีการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมดังเช่นการ "ตีพิ" ประเพณีการเรียกขวัญข้าวออกจากไร่เพื่อนำไปเก็บยังยุ้งฉาง ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญของการทำเกษตรกรรมที่เกี่ยวโยงสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชาวลัวะบ้านน้ำมีดมาอย่างยาวนาน
-
ชุมชนที่ยังคงพูดภาษาถิ่น ภาษาลื้อ พึ่งพิงวิถีเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ผัก เพื่อการยังชีพและขาย
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอบนพื้นที่สูงท่ามกลางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับวิถีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ และภูมิปัญญาการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน
-
ชุมชนวัวลายเป็นแหล่งผลิตเครื่องเงินที่มีความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ ด้วยวิธีการต้องลายโลหะหรือเรียกว่า "การดุนโลหะ" นอกจากนี้ ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวและศาสนสถานที่สำคัญ คือ วัดศรีสุพรรณ ซึ่งประดิษฐานพระเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หอธรรม และพระวิหาร แต่สิ่งที่โดดเด่นของวัดแห่งนี้เห็นจะอยู่ที่ “พระอุโบสถเงิน” หลังแรกของโลก
-
บ้านหนองหลัก ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงท่ามกลางพื้นที่ทางธรรมชาติทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ กับการจัดการพื้นที่ป่าชุมชน และวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงโปว์ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยวิถีชีวิตค่อนข้างเรียบง่าย
-