-
ประชากรส่วนใหญ่เคลื่อนย้ายมาจากทางภาคเหนือ ประเพณีวัฒนธรรมจึงถอดแบบจากทางภาคเหนือ
-
หัตถกรรมจักสานคู่ชุมชนบางเจ้าฉ่า มรดกวัฒนธรรมภูมิปัญญาเป็นสมบัติอันล้ำค่าของท้องถิ่น สู่การฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจชุมชนสร้างชื่อเสียงและรายได้ให้กับผู้คนในพื้นที่
-
ชุมชนชาติพันธุ์ไทดำหรือลาวโซ่ง มีความเชื่อในผีแถนซึ่งเป็นรากฐานของประเพณีและวัฒนธรรมหลายอย่าง มีการทำหัตถกรรมชุมชนที่โดดเด่นและแตกต่าง เรียกว่า การทอผ้ากี่กระตุก
-
แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองบางน้อย ชุมชนริมน้ำเก่าแก่แห่งหนึ่งของจังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งอยู่บริเวณจุดตัดของแม่น้ำแม่กลองกับคลองบางน้อย อดีตศูนย์กลางการค้าทางน้ำที่สำคัญของลุ่มแม่น้ำแม่กลอง–แม่น้ำท่าจีน
-
หมู่บ้านที่มีบึงน้ำเป็นแนวยาวตลอดทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน อีกทั้งมีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมภาคอีสานและภาคกลาง อาทิ การบวงสรวงดวงวิญญาณเจ้าพ่อศรีเทพ งานบุญผะเหวด
-
ชุมชนชาวมอญโบราณที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย วิถีชีวิตของผู้คนกับสายน้ำ และการรักษาวิถีวัฒนธรรมแบบมอญที่เป็นเอกลักษณ์
-
วัดโป่งน้ำร้อน ศูนย์กลางของชุมชนและเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การก่อตั้งชุมชน
-
-
หมู่บ้านท่ากกแก เป็นหมู่บ้านที่สมาชิกในหมู่บ้านยังคงร่วมกันสืบสานการจัดงานประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง อย่างไรก็ดีท่ามกลางความเเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน สมาชิกในชุมชนมีการปรับปรนประเพณีเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ได้ อาทิ การใช้เทคโนโลยีหลากหลายมาช่วยในการส่งเสริมให้เกิดการส่งทอดไปยังเยาวชนรุ่นใหม่ในชุมชน รวมถึงการเล่าเรื่องชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ในประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
-
เป็นที่ตั้งขององค์การบริหารส่วนตำบลโป่งน้ำร้อน มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และมีประชากรชาติพันธุ์ไทดำ มีบ้านไม้เก่าชั้นเดียวและสองชั้น
-
ผลิตภัณฑ์ชุมชน การทอเสื่อกก ที่ถูกนำสานทอด้วยความละเมียด มีทั้งลวดลายกาฬสินธ์ุ ลายยโสธร ลายคนแคระ นิยมทำจากต้นกกราชินี